• No results found

โครงการจ ดการน าสะอาดของการประปาส วนภ ม ภาค (กปภ.สาขาร ตนบ ร )

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "โครงการจ ดการน าสะอาดของการประปาส วนภ ม ภาค (กปภ.สาขาร ตนบ ร )"

Copied!
115
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

โครงการจัดการน้้าสะอาดของการประปาส่วนภูมิภาค

(กปภ.สาขารัตนบุรี)

ตามที่ กปภ. ได้ก้าหนดให้ด้าเนินโครงการจัดการน้้าสะอาด โดยได้รับความช่วยเหลือแบบให้เปล่าจาก USAID/ECO-Asia เพื่อพัฒนาระบบน้้าสะอาดและระบบสุขอนามัย และในปี ๒๕๕๑ - ๒๕๕๒ ก้าหนดให้ ป. นครนายก ป.บ้านนา และหน่วยบริการองครักษ์ เป็นโครงการน้าร่อง (Pilot Project) ในโครงการนี้ ต่อมาได้ กระจายผลการด้าเนินโครงการไปทั่วประเทศ ตามนโยบายของการประปาส่วนภูมิภาค ก้าหนดให้โรงกรองน้้าทุกแห่งภายในสังกัด ด้าเนินการโครงการ จัดการน้้าสะอาด เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพโรงกรองน้้าสร้างภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร และปรับปรุงคุณภาพ น้้าประปาให้ดีขึ้น โดยมีการจัดการที่ดีตั้งแต่แหล่งน้้า ระบบผลิตน้้าประปา ระบบจ่ายน้้าประปา จนถึงผู้ใช้น้้า ปรับปรุงเทคโนโลยีและการออกแบบระบบผลิตน้้าประปาให้ทันสมัยและเหมาะสม การประปาส่วนภูมิภาคสาขารัตนบุรี ก้าลังอยู่ในระหว่างด้าเนินโครงการจัดการน้้าสะอาด (Water Safety Plan) ซึ่งประกอบด้วย ๒ ส่วน คือ ด้าน Water Quality Management และด้าน Water Treatment Technology โดยจะด้าเนินการโครงการดังกล่าวให้ครบทุกหน่วยบริการ เพื่อเป็นการสร้างกระบวนการท้างานที่ ถูกต้อง และจัดเก็บเอกสารในการปฏิบัติงานให้เป็นรูปแบบที่สามารถตรวจสอบได้ อีกทั้งเป็นภาพลักษณ์ที่ดีของ หน่วยงาน และเป็นการสร้างวัฒนธรรมในการท้างานที่ดีที่ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ปฏิบัติต่อไป ๑. วัตถุประสงค์ ๑.๑ เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้้าประปาให้ดีขึ้น โดยมีการจัดการที่ดีตั้งแต่แหล่งน้้า ระบบผลิตน้้าประปา ระบบจ่ายน้้าประปา จนถึงผู้ใช้น้้า ๑.๒ เพื่อปรับปรุงเทคโนโลยีและการออกแบบระบบผลิตน้้าประปาให้ทันสมัยและเหมาะสม ๒. ระยะเวลาด้าเนินการ ระหว่างเดือน มิถุนายน ๒๕๕๔ ถึง เดือนสิงหาคม ๒๕๕๔ ๓. ผู้รับผิดชอบโครงการ กปภ.ข. ๘ กรค. คณะท้างานโครงการจัดการน้้าสะอาด

๔. การด้าเนินงานโครงการจัดการน้้าสะอาด (Water Safety Plan) มีขั้นตอนต่างๆ จ้านวน ๑๑ ขั้นตอนดังนี้ ๔.๑ จัดตั้งทีงาน WSP ระดับ กปภ.สาขา ๔.๒ อธิบายระบบประปา ๔.๓ ระบุอันตราย/ประเมินความเสี่ยง ๔.๔ จัดท้า SOP/แผนการควบคุมติดตาม ๔.๕ พัฒนาปรับปรุงแผนการด้าเนินงาน ๔.๖ ก้าหนดวิธีควบคุมและติดตาม ๔.๗ ตรวจสอบประสิทธิภาพของโครงการ ๔.๘ เตรียมขั้นตอนการบริหารจัดการ ๔.๙ พัฒนาแผนการสนับสนุน

(2)

๒ ๔.๑๐ จัดท้าแผนและทบทวนแผนงานเป็นระยะ ๆ ๔.๑๑ ปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องต่อเหตุการณ์ ๔.๑ จัดตั้งทีงาน WSP ระดับ กปภ.สาขารัตนบุรี ๑) ผู้จัดการการประปาส่วนภูมิภาคสาขารัตนบุรี ประธานคณะท้างาน ๒) หัวหน้างานบริการและควบคุมน้้าสูญเสีย คณะท้างาน ๓) พนักงานผลิตน้้า กปภ.สาขารัตนบุรี คณะท้างาน ๔) หัวหน้างานผลิต กปภ.สาขารัตนบุรี คณะท้างานและเลขานุการ ๕) ช่างไฟฟ้าและช่างเครื่องกล คณะท้างานและผู้ช่วยเลขานุการ ๔.๔ จัดท้า SOP/แผนการควบคุมติดตาม จะต้องแต่งตั้งคณะท้างานระดับเขต ดังนี้ ๔.๔.๑ คณะท้างานระดับเขต ๑) ผู้อ้านวยการการประปาส่วนภูมิภาคเขต ๘ ประธานคณะท้างาน ๒) ผู้อ้านวยการกองระบบผลิตและควบคุมคุณภาพน้้า คณะท้างาน ๓) ผู้อ้านวยการกองแผนและวิชาการ คณะท้างาน ๔) ผู้จัดการการประปาส่วนภูมิภาคสาขามุกดาหาร คณะท้างาน ๕) ตัวแทนชมรมผู้จัดการสาขาในกปภ.ข.๘ คณะท้างาน ๖) หัวหน้างานผลิต การประปาส่วนภูมิภาคสาขารัตนบุรี คณะท้างาน ๗) หัวหน้างานควบคุมคุณภาพน้้า คณะท้างาน ๘) หัวหน้างานบ้ารุงรักษา คณะท้างาน ๙) หัวหน้างานเทคโนโลยีควบคุมผลิต คณะท้างาน ๑๐) นายธนกร องค์สถาพร คณะท้างานและเลขานุการ ๑๑) นายฐานะวุฒิ ทองชุม คณะท้างานและผู้ช่วย เลขานุการ

(3)

๔.๒ ขั้นตอนการผลิตและจ่ายน้้าประปา กปภ.สาขารัตนบุรี (หน่วยบริการท่าตูม)

๔.๒.๑ แหล่งน้้าดิบ แม่ข่ายรัตนบุรี ใช้แหล่งน้้าในการผลิตน้้าประปา ๑ แหล่ง คือ สระพักน้้าดิบ หนองสิม ซึ่งอยู่ห่างจากโรงกรองน้้า ๑.๙ กิโลเมตร ปริมาณน้้ามีมากเพียง พอที่จะใช้ในฤดูแล้ง ๔.๒.๒ Static Mixer เป็นจุดเติมสารละลายสารส้ม และท้าหน้าที่กวนเร็ว ๔.๒.๓ หอแบ่งน้้า ท้าหน้าที่แบ่งน้้าก่อนที่น้้าจะไหลออกจากบ่อนี้ไปยังถังกวนช้าซึ่งมี ๒ โรงกรอง ขนาด ๔๐ และ ๑๐๐ ลบ.ม./ชม. ๔.๒.๔ ถังกวนช้า เป็นจุดท้าหน้าที่เป็นตัวกวนน้้าผสมสารส้มท้าให้เกิดฟล๊อค (Floc) ก่อนน้้าไหลสู่ ถังตกตะกอน ๔.๒.๕ ถังตกตะกอน มี ๒ ขนาด คือโรงกรองขนาด ๔๐ และ ๑๐๐ ลบ.ม./ชม. เป็นจุดที่เป็น พื้นที่ท้าให้ตะกอนตกลงก้นถัง ๔.๒.๖ ถังกรอง มี ๒ ขนาด คือโรงกรองขนาด ๔๐, และ ๑๐๐ ลบ.ม./ชม. รับน้้าใสจากถัง ตกตะกอน เพื่อกรองสารแขวนลอยที่ยังหลุดรอดจากถังตกตะกอนผ่านชั้น ทรายกรอง กรวดกรองและไหลไปสู่ถังน้้าใส ซึ่งในระหว่างที่ไหลลงสู่ถังน้้าใสก็ จะเติมแก๊สคลอรีนและปูนขาวผสมลงไปด้วย ๔.๒.๗ ถังน้้าใส ท้าหน้าที่เก็บกักน้้า เพื่อเพิ่มระยะเวลาในการฆ่าเชื้อโรค ซึ่งมีการเติมแก็ส คลอรีนเพื่อฆ่าเชื้อโรคในน้้าที่จุดนี้ ถังน้้าใสมี ๒ ขนาด คือ ๕๐๐ และ ๕๐๐ ลบ.ม. ซึ่งเชื่อมต่อถึงกัน ๔.๒.๘ ถังสูง มีหน้าที่ส่งน้้าประปาให้กับระบบจ่ายน้้า และรักษาระดับแรงดันต้นทางให้ สม่้าเสมอ มีจ้านวน ๑ ถังขนาด ๑๒๐ ลบ.ม. ๔.๒.๙ ระบบจ่ายน้้าประปา จ่ายน้้าให้กับผู้ใช้น้้าผ่านเส้นท่อ PVC ขนาด ๑๕๐ และ ๒๐๐ มม. มีจุดจ่ายน้้า ๑ จุด คือ ๑) จ่ายจากถังสูงบริเวณ น.ท่าตูม ขนาด ๑๒๐ ลบ.ม. ให้บริการในพื้นที่ อ.ท่าตูม ๔.๒.๑๐ การใช้น้้า ผู้ใช้น้้าแต่ละรายจะต้องขอติดตั้งมาตรวัดน้้า เพื่อประสานท่อของผู้ใช้น้้ากับท่อ จ่ายน้้าของการประปาและใช้น้้าได้ทันที แต่บางพื้นที่ที่แรงดันของน้้าต่้า ผู้ใช้ น้้าจะต้องติดตั้งถังพักน้้าพร้อมเครื่องสูบน้้าขนาดเล็กเพื่อเพิ่มแรงดันน้้า ๔.๒.๑๑ ปัญหาของหน่วยบริการท่าตูม น้้าดิบจากสระพักน้้าหนองสิมถึงจะมีปริมาณเพียงต่อการผลิต น้้าประปาตลอดปี แต่ในช่วงฤดูแล้งน้้าในสระพักน้้าหนองสิมลดระดับลงมาก และวัชพืช น้้าดิบมีกลิ่นเหม็น ๔.๒.๑๒ คุณภาพน้้าประปา ต้องได้เกณฑ์มาตรฐานของ กปภ. ดังรายละเอียดแนบ
(4)

๔.๓ แผนผังกระบวนการผลิตน้้าประปา (Process Flow Chart) หน่วยบริการท่าตูม

สระพักน้้าดิบหนองสิม ท่อส่งน้้าดิบ ปูนขาว (การปรับ pH ๖.๘ – ๗.๔) สารส้ม (มล./วินาที) การควบคุมคุณภาพการตกตะกอน การควบคุมคุณภาพการแยกตัวของ ของแข็งและของเหลว การควบคุมคุณภาพความขุ่น สูงสุด ๕ NTU การควบคุมคุณภาพค่าคลอรีน คงเหลือ ๐.๘ – ๑.๕ mg./l PH ๖.๕ – ๘.๕, ความขุ่นสูงสุด ๕ NTU เครือข่ายท่อประปา การควบคุมคุณภาพตัวอย่างน้้า กรมชลประทาน งานผลิตน้้า งานผลิตน้้า งานผลิตน้้า งานผลิตน้้า งานผลิตน้้า งานผลิตน้้า งานผลิตน้้า งานผลิตน้้า งานบริการ

ขั้นตอน

แผนผัง

ผู้รับผิดชอบ

๑. แหล่งน้้าดิบ

๔. หอแบ่งน้้า

๕. การกวนช้า

๗. การกรอง

๘. การฆ่าเชื้อโรค

๙. การเก็บรักษา

๑๑. หอถังสูง

๑๒. การจ่ายน้้า

๑๐. การตรวจสอบ

๖. การตกตะกอน

๑๓. ผู้ใช้น้้า

งานผลิตน้้า pH และความขุ่น pH ๖.๕ – ๘.๕ ความขุ่นสูงสุด ๕ NTU ค่าคลอรีนคงเหลือต่้าสุด ๐.๒ mg/l Post-Cl2

๒. จาร์เทสต์

อัตราการจ่ายสารเคมี (มล./วินาที) งานผลิตน้้า งานผลิตน้้า

๓. Static Mixer

ความขุ่นสูงสุด. ๑๐ NTU (สังเกตการตกตะกอน) ปูนขาว (การปรับ pH๖.๘ – ๗.๔)
(5)

สัญลักษณ์และความหมาย

ตรวจสอบ ทดสอบ / ทดลอง การเคลื่อนย้าย

(6)

๔.๔ ระบุอันตราย/ประเมินความเสี่ยง กระบวนการ (Process Step) เหตุการณ์ที่เกิด (Hazardous Event) ชนิดของอันตราย (Hazard Type) การควบคุมที่มีอยู่

(Existing Control Measures)

ความเสี่ยง (Risk)

การควบคุมที่ต้องการเพิ่มขึ้น (Additional Control Measures Desired) ๑. แหล่งน้้าดิบ - สระพักน้้าดิบหนอง สิม - มีสี มีกลิ่นเหม็นของวัชพืชบาง ช่วง - น้้าท่วมบริเวณโรงสูบน้้าแรง ต่้า - น้้ามีสี มีกลิ่น - สาหร่าย - มอเตอร์ เครื่องสูบน้้า อุปกรณ์ระบบควบคุม อัตโนมัติ ระบบท่อส่ง น้้าดิบ - ประสานงานกับงานควบคุม คุณภาพน้้า เพื่อหาทางแก้ไข - ตรวจสอบคุณภาพน้้าดิบ สังเกต น้้าดิบด้วยสายตาหากพบความ ผิดปกติ เช่น มีสี กลิ่น - ตรวจวัดคุณภาพน้้าทางด้าน กายภาพ เคมี แบคทีเรีย ดัชนี มลภาวะ - มีการเติมคลอรีนก่อนในน้้าดิบ - น้ากระสอบทรายท้าแนวกันน้้า ภายในโรงสูบ สูง - มีการเติมคลอรีนก่อนทุกครั้งที่น้้าดิบมี ปัญหาเรื่องสี กลิ่น สาหร่าย - จัดหาเครื่องจ่ายคลอรีนก่อน(pre chlorine) - ใช้ถ่านกัมมันต์ ชนิดผง เติมหลังสารส้มใน กรณีที่น้้าดิบมีกลิ่นเหม็น - ติดตั้งก๊อกเก็บตัวอย่าง ๔ จุด คือ น้้าดิบ น้้าดิบหลังเติมปูนขาว น้้าก่อนกรอง และ น้้าประปา ไปยังห้องวิเคราะห์คุณภาพน้้า - ติดตั้งเครื่องวัดคุณภาพน้้าออนไลน์ เพื่อวัด ค่าคุณภาพน้้าตลอดเวลา ทั้งน้้าดิบและ น้้าประปา - ท้าแท่นวางอุปกรณ์ให้สูงขึ้นจากระดับเดิม ๒. ปริมาณน้้าดิบ - ไม่สามารถวัดปริมาณน้้าดิบที่ เข้าระบบผลิตได้ถูกต้อง - ความขุ่น - ค่าความเป็นกรด ด่าง - สังเกตปริมาณน้้าดิบที่เข้าระบบ ผลิต - ต่อท่อทางดูดน้้าดิบให้ลึกลง สูง - จัดหาเครื่องมือวัดปริมาณน้้าดิบ - จัดท้ากราฟวัดปริมาณน้้ากับระดับน้้าดิบ

(7)

กระบวนการ (Process Step) เหตุการณ์ที่เกิด (Hazardous Event) ชนิดของอันตราย (Hazard Type) การควบคุมที่มีอยู่

(Existing Control Measures)

ความเสี่ยง

(Risk)

การควบคุมที่ต้องการเพิ่มขึ้น (Additional Control Measures Desired) ๓. การเติมสารเคมี - ไม่สามารถจ่ายสารเคมีได้ อย่างถูกต้อง เนื่องจากไม่มี เครื่องมือวัดปริมาณน้้าดิบ - เครื่องจ่ายสารเคมีและ อุปกรณ์ส้าหรับระบบผลิตหมด สภาพ/ช้ารุด/ขาดการบ้ารุงรักษา - ความขุ่น - ค่าความเป็นกรด ด่าง - ความขุ่น - สังเกตความขุ่นของน้้าในระบบ ผลิต - จัดหาอุปกรณ์เมื่อช้ารุด - ซ่อมเมื่อเครื่องช้ารุด - ท่อจ่ายสารเคมีอุดตัน สูง สูง - วัดคุณภาพน้้าดิบทางกายภาพเป็นประจ้า ทุกวัน - จัดท้ากราฟความสัมพันธ์ระหว่างค่าทาง กายภาพกับปริมาณสารเคมีที่ใช้ในระบบ ผลิต - จัดหาเครื่องมือวัดปริมาณน้้าดิบ - จัดหาเครื่องมือวัดคุณภาพน้้าออนไลน์ - จัดหาเครื่องจ่ายสารเคมีส้ารอง - จัดท้าแผนบ้ารุงรักษาอุปกรณ์เกี่ยวกับ เครื่องจ่ายสารเคมี - จัดการฝึกอบรมในเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับ การบ้ารุงรักษาอุปกรณ์ - มีการบันทึกการใช้งานอุปกรณ์เครื่องจ่าย สารเคมี พร้อมบันทึกรายละเอียดการใช้งาน - มีคู่มือการปฏิบัติงาน - มีระบบวัดอัตราการไหลให้สังเกตได้ ตลอดเวลา พร้อมมีสัญญาณเตือนหากระบบ จ่ายสารเคมีไม่มีอัตราการไหล - มีระบบท่อจ่ายสารเคมีส้ารองกรณีอุดตัน หรือกรณีเกิดปัญหาในการจ่ายสารเคมี

(8)

กระบวนการ (Process Step) เหตุการณ์ที่เกิด (Hazardous Event) ชนิดของอันตราย (Hazard Type) การควบคุมที่มีอยู่

(Existing Control Measures)

ความเสี่ยง

(Risk)

การควบคุมที่ต้องการเพิ่มขึ้น (Additional Control Measures Desired) ๔. การดูแลถังกวนช้า - มีตะไคร้น้้าเกาะติดผนังถัง - ไม่สามารถระบายตะกอน และล้างถังเนื่องอุปกรณ์ที่ใช้ใน การระบาย เช่น ประตูน้้า ระบายตะกอนช้ารุด ความขุ่น กลิ่น สี - ล้างถังกวนช้าตามระยะเวลา ปานกลาง - จัดท้าแผนการล้างถังกวนช้า - บันทึกสถิติการล้างถังกวนช้าแต่ละรอบปี ๕. การดูแลถัง ตกตะกอน - ไม่สามารถระบายตะกอน และล้างถังตกตะกอนเนื่อง อุปกรณ์ที่ใช้ในการระบาย เช่น ประตูน้้าระบายตะกอนช้ารุด ความขุ่น สี - ระบายตะกอนอย่างน้อยวันละ ๑ ครั้ง - ซ่อมอุปกรณ์เมื่อช้ารุด - วัดค่าความขุ่นก่อนเข้ากรองไม่ ควรเกิน ๑๐ NTU ปานกลาง - ส้ารองอุปกรณ์ที่จ้าเป็นต้องใช้ในการซ่อม ซึ่งช้ารุดบ่อยครั้ง - จัดท้าแผนบ้ารุงรักษาอุปกรณ์ต่าง ๆ - วางแผนการกรองน้้าให้สามารถมีเวลา บ้ารุงรักษาถังตกตะกอน ๖. การเกิดตะกอนไม่ สมบูรณ์ ประสิทธิถังกวนช้าต่้าเกินไป - มีตะกอนลอยฟุ้งในถัง ตกตะกอนโรงกรองขนาด ๔๐ ลบ.ม. ความขุ่น สาหร่าย ตะกอนลอย - เพิ่มปริมาณการเติมสารเคมี - หาปริมาณการเติมสารเคมีที่ เหมาะสม ปานกลาง - เพิ่มประสิทธิภาพถังกวนช้า โดยอาจเพิ่ม ถังกวนช้า หรือเพิ่มระยะทางในถังกวนช้า - ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในเชิง ปฏิบัติ

(9)

กระบวนการ (Process Step) เหตุการณ์ที่เกิด (Hazardous Event) ชนิดของอันตราย (Hazard Type) การควบคุมที่มีอยู่ (Existing Control Measures) ความเสี่ยง (Risk) การควบคุมที่ต้องการเพิ่มขึ้น (Additional Control Measures Desired) ๗. การควบคุมระบบ การกรองและการล้าง ทรายกรอง ประสิทธิภาพการกรองลดลง จาก - ปริมาณน้้าในการล้างกรองไม่ เพียงพอ - ประตูน้้าในระบบล้างกรองปิด ไม่สนิท หรือช้ารุด - หน้าทรายแตก ความขุ่น แบคทีเรีย สาหร่าย - ล้างกรองตามเมื่อกรองอุด ตันและประสิทธิภาพในการ กรองน้้าลดลง - ตักขี้เลนออกทิ้งหรือท้า ความสะอาดทรายกรอง สูง - จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติ - จัดหาอุปกรณ์ที่จ้าเป็นเพิ่มเติม - ตรวจสอบ/ซ่อมอุปกรณ์ในส่วนที่ช้ารุด - ควบคุมอัตราการกรองน้้าให้สม่้าเสมอ - ตรวจสอบประสิทธิภาพสารกรองน้้า ๘. การฆ่าเชื้อโรคและ การควบคุมคุณภาพ น้้าประปา - ไม่สามารถจ่ายคลอรีนได้ใน ปริมาณที่ต้องการ(ขึ้นกับ คุณภาพน้้าดิบ) - ไม่สามารถจ่ายคลอรีน Pre – Chlorine ในท่อน้้าดิบ ได้ เนื่องจากเกิดแรงต้านในเส้น ท่อ - ไม่มีหัวจ่ายคลอรีนส้าหรับ Pre - Chlorine - เติมคลอรีนแล้วน้้าแดงในบาง ช่วงเวลา แบคทีเรีย ความขุ่น สี -วัดปริมาณคลอรีนต้นทาง ๐.๘ – ๒.๕ พีพีเอ็ม - มีการตรวจคุณภาพน้้าทาง กายภาพเป็นประจ้าทุกวัน - มีการตรวจวัดคุณภาพด้าน แบคทีเรีย เป็นประจ้าทุก สัปดาห์ - มีการตรวจวัดคุณภาพด้าน กายภาพ เคมี แบคทีเรีย และ สารเป็นพิษ - ขอยืมประปาข้างเคียงใน กรณีฉุกเฉิน สูง - ระบายน้้าหลังจากการซ่อมท่อ ระบายน้้าทิ้งจากเส้นท่อหากไม่มีคลอรีน คงเหลือตามมาตรฐาน - ตรวจสอบคุณภาพน้้าดิบเพื่อหาสาเหตุของ การเติมคลอรีนแล้วเกิดสี - จัดหาอุปกรณ์ อะไหล่ เพื่อเปลี่ยนตามรอบ เวลา หรืออายุการใช้งาน - จัดท้าแผนบ้ารุงรักษาเชิงป้องกัน - จัดหาเครื่องจ่ายคลอรีนส้ารอง และจ่าย Pre Chlorine

(10)

๑๐ กระบวนการ (Process Step) เหตุการณ์ที่เกิด (Hazardous Event) ชนิดของอันตราย (Hazard Type) การควบคุมที่มีอยู่ (Existing Control Measures) ความเสี่ยง (Risk) การควบคุมที่ต้องการเพิ่มขึ้น (Additional Control Measures Desired) - อุปกรณ์ของเครื่องจ่ายคลอรีน ช้ารุด ขาดการบ้ารุงรักษา - ไม่มีหัวจ่ายคลอรีนส้ารอง - เกิดการปนเปื้อนจากท่อแตก ท่อรั่ว ท่อเก่า - สถานีจ่ายน้้าโคกก่อง ท่อส่ง น้้าที่มีระยะทางไกล แต่ไม่มี การจ่ายคลอรีนเพิ่ม แบคทีเรีย ความขุ่น สี สูง - จัดท้าแผนตรวจวัดคุณภาพน้้าตามเส้นท่อ ต่าง ๆ และระบายน้้าทิ้งหากน้้าไม่ได้ตาม มาตรฐาน - สนับสนุนงบประมาณในการเปลี่ยนเส้นท่อ - ก้าหนดจุดเฝ้าระวังและสุ่มวัดปริมาณ คลอรีนคงเหลือ - เพิ่มจุดจ่าย หรือสถานีจ่ายคลอรีนระหว่าง ทาง - จัดฝึกอบรมการปฏิบัติงานและการควบคุม ปริมาณคลอรีนคงเหลือในเส้นท่อ - จัดท้าคู่มือการปฏิบัติงานในการ ควบคุมดูแลระบบจ้าหน่ายน้้า - ประชาสัมพันธ์ ให้ผู้ใช้น้้าเข้าใจเรื่องกลิ่น คลอรีนคือกลิ่นของน้้าสะอาด

(11)

๑๑

เรื่อง ขั้นตอนปฏิบัติงานประจ้าวัน

รหัส WO-PWA๘-๐๑

สถานที่ตั้ง :

๑๗๓ หมู่ที่ ๑

ต้าบลท่าตูม อ้าเภอท่าตูม

จังหวัดสุรินทร์ ๓๒๑๒๐

โทรศัพท์ ๐๔๔ – ๕๙๑๖๓๒

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

(Work Operation)

หน่วยบริการท่าตูม

การประปาส่วนภูมิภาคสาขารัตนบุรี

สิงหาคม ๒๕๕๔

(12)

๑๒ คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง ขั้นตอนการปฏิบัติงานประจ้าวัน เลขที่ WO-PWA๘-๐๑ หน้า i ใน i แก้ไขครั้งที่ วันที่ ตอน ๑.๐ ๒.๐ ๓.๐ ๔.๐ ๕.๐ ๖.๐ ๗.๐ ๘.๐ ๙.๐ ๑๐.๐ ชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์ (OBJECTIVE) นโยบาย (POLICIES) ขอบเขต (SCOPE) ผู้รับผิดชอบ (RESPONSIBILITIES ) เอกสารอ้างอิง (REFERENCE) ค้าจ้ากัดความ (DEFINITION) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (WORK PROCEDURES) การบันทึก (RECORDS) การแปลผล (INTERPRETATION) แผนภูมิ (FLOW CHART) เอกสารแนบ (ATTACHMENT) ภาคผนวก (APPENDIX) หน้า ๑/๕ ๑/๕ ๑/๕ ๑/๕ ๒/๕ ๒/๕ ๒/๕ ๓/๕ ๓/๕ ๔/๕ ๕/๕ ๕/๕

(13)

๑๓ คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง ขั้นตอนการปฏิบัติงานประจ้าวัน เลขที่ WO-PWA๘-๐๑ หน้า ๑ ใน ๕ แก้ไขครั้งที่ วันที่ ๑. วัตถุประสงค์ (OBJECTIVE) เพื่อใช้เป็นมาตรฐานการปฏิบัติงานของระบบผลิตน้้าประปาของการประปาส่วนภูมิภาคสาขารัตนบุรี โรง กรองน้้าท่าตูม ให้สามารถผลิตน้้าประปาได้คุณภาพทั้งในระบบผลิตและระบบจ้าหน่ายให้ได้ตามมาตรฐาน ที่ก้าหนด ๒. นโยบาย (POLICIES) - ผลิตน้้าประปาที่มีคุณภาพได้ตามมาตรฐานคุณภาพน้้าประปา ของการประปาส่วนภูมิภาค - ก้าหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผลิตน้้า ๓. ขอบเขต (SCOPE) ส้าหรับการผลิตน้้าประปาของโรงกรองน้้าท่าตูม ๔. ผู้รับผิดชอบ (RESPONSIBILITIES) ๔.๑ หัวหน้างานผลิตเป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ - ตรวจสอบการท้างานของพนักงานผลิต - พิจารณาผลการตรวจสอบคุณภาพน้้า - ตรวจสอบการบ้ารุงรักษาเครื่องจักรกล เครื่องสูบน้้าเชิงป้องกัน - ตรวจสอบดูแลระบบผลิตน้้าประปาและรายงานตรงต่อผู้จัดการการประปาส่วนภูมิภาค สาขารัตนบุรี ๔.๒ พนักงานผลิตน้้าเป็นผู้รับผิดชอบ มีหน้าที่ปฏิบัติงานดังนี้ - เตรียมสารเคมีที่ใช้ในการผลิตน้้าประปาให้เพียงพอส้าหรับใช้ในการผลิตน้้าประปา และ บันทึกข้อมูลการเตรียม และการใช้สารเคมี - ระบายตะกอนออกจากถังตกตะกอนทุกวัน - ตรวจสอบคุณภาพน้้าในระบบผลิตและระบบจ่าย และบันทึกลงในแบบฟอร์ม - ท้าการดูแลรักษาเครื่องจักกล เครื่องสูบน้้า เชิงป้องกัน - ตรวจสอบระบบผลิตน้้าประปาและรายงานตรงต่อหัวหน้างานผลิต

(14)

๑๔ คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง ขั้นตอนการปฏิบัติงานประจ้าวัน เลขที่ WO-PWA๘-๐๑ หน้า ๒ ใน ๕ แก้ไขครั้งที่ วันที่ ๕. เอกสารอ้างอิง (REFERENCE) ๕.๑ การท้าจาร์เทสต์ (WI-PWA๘-๐๑) ๕.๒ การล้างกรอง (WI- PWA๘-๐๓) ๕.๓ การตรวจวัดคุณภาพน้้าในระบบผลิตและระบบจ้าหน่าย (WP- PWA๘-๐๒) ๕.๔ การเก็บตัวอย่างน้้าในระบบผลิตและระบบจ้าหน่าย (WI- PWA๘-๐๒ ) ๕.๕ ข้อก้าหนดเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพน้้าประปาของการประปาส่วนภูมิภาค ๖. ค้าจ้ากัดความ (DEFINITION) - ๗. ขั้นตอนการปฏิบัติ (WORK PROCEDURES) พนักงานผลิตน้้ารับเวร เวลา ๐๘.๐๐ น. ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. - รับเวร พร้อมพูดคุยปัญหาของระบบผลิตในแต่วัน ว่ามีสิ่งใดเกิด มีปัญหา หรือไม่ ระบบเป็นอย่างไรและหามาตรการป้องกัน ๐๘.๓๐ – ๑๐.๐๐ น. - ตรวจสอบคุณภาพน้้า ดูแลความสะอาดระบบโรงกรอง และรอบบริเวณโรง กรองน้้า ถังน้้าใส ๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. - หยุดเดินเครื่องแรงต่้า ท้าการโบล์ลตะกอน และฉีดล้างแผ่นเพลตทั้งสองโรง กรอง ตรวจสอบความเรียบร้อยเพื่อจะเตรียมผลิตน้้าครั้งต่อไป ๑๒.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. - ตรวจสอบ และเช็คสภาพ ระบบการจ่ายสารเคมีว่ามีจุดใดช้ารุดหรือ แตกรั่ว หรือไม่ (ถ้ามี) ท้าการซ่อมแซมให้เรียบร้อย ๑๔.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. - ตรวจเช็คสภาพเครื่องจักรกลในการผลิต แต่ละเครื่องแต่ละตัวโดยละเอียด แล้วบันทึกใว้ในแบบฟอร์มเครื่องจักรกลทั้งแรงต่้าและแรงสูง ๑๕.๓๐ – ๑๗.๐๐ น. - ตรวจสอบ ความสะอาดโรงสูบแรงต่้า เช็คระบบต่างๆในระบบท่อส่งน้้าดิบ ตรวจสอบระดับน้้า ตรวจสอบการไหลเข้าของน้้าที่เข้าสระพักน้้าดิบ ๑๗.๐๐ – ๒๐.๓๐ น. - เริ่มเดินเครื่องสูบน้้าแรงต่้า มาสู่ระบบการผลิตน้้า เปิดระบบสารเคมีต่างๆให้ ท้างาน ๒๐.๓๐ – ๒๐.๕๐ น. - ท้าการล้างกรอง โรงกรอง ๑๐๐ ลบ.ม/ช. ฉีดล้างหน้าทราย

(15)

๑๕ คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง ขั้นตอนการปฏิบัติงานประจ้าวัน เลขที่ WO-PWA๘-๐๑ หน้า ๓ ใน ๕ แก้ไขครั้งที่ วันที่ ๒๒.๐๐ – ๒๒.๑๕ น. - ท้าการล้างกรอง โรงกรอง ๔๐ ลบ.ม/ช. ฉีดล้างหน้าทราย ๒๒.๑๕ – ๐๔.๐๐ น. - ตรวจสอบความเรียบร้อยทั่วไป ตรวจสอบการตกตะกอน ตรวจสอบการท้างานของเครื่องจักรกลและระบบไฟฟ้า ๐๔.๐๐ – ๐๔.๓๐ น. – หยุดเดินเครื่องแรงต่้า ท้าการปิดระบบสารเคมีทุกอย่าง ๐๕.๐๐ – ๐๖.๐๐ น. - ล้างถังหมักปูนขาว สารส้ม แล้วท้าการเตรียมสารเคมีที่จะผลิตครั้งต่อไป ๐๖.๐๐ – ๐๖.๒๐ น. - ท้าการเดินเครื่องสูบน้้าแรงต่้า เปิดระบบสารเคมีต่างๆ ๐๖.๒๐ – ๐๗.๓๐ น. - ตรวจสอบความเรียบร้อย ภายในโรงสูบ โรงกรอง ความสะอาดต่างๆ ของ ระบบผลิตพร้อมที่จะส่งเวร ๐๗.๓๐ – ๐๘.๐๐ น. - สรุปการการท้างานในแต่ละวัน สรุปยอดการผลิตจ่ายน้้าในแต่ละวัน สรุปการ ใช้สารเคมีในแต่ละวัน ตรวจสอบหน่วยไฟฟ้าแรงต่้า-แรงสูง พร้อมสรุปลงใน สมุด ป.๔๔ ผ และจัดท้ารายงาน และส่งเวรต่อไป ๘. การบันทึก (RECORDS) - ๙. การแปลผล (INTERPRETATION) -

(16)

๑๖ คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง ขั้นตอนการปฏิบัติงานประจ้าวัน เลขที่ WO-PWA๘-๐๑ หน้า ๔ ใน ๕ แก้ไขครั้งที่ วันที่ ๑๐. แผนภูมิ (FLOW CHART) ด้าเนินการ โดย พนักงานผลิตน้้า/หัวหน้างานผลิต ๐๘.๐๐ – ๐๘.๓๐ น. ๐๘.๓๐ – ๑๐.๐๐ น. ๑๐.๐๐ – ๑๒.๐๐ น.

๑๒.๐๐ – ๑๔.๐๐ น. ๑๔.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. ๑๕.๓๐ – ๑๗.๐๐ น.. ๑๗.๐๐ – ๒๐.๓๐ น. ๒๐.๓๐ – ๒๐.๕๐ น. รับเวร พร้อมพูดคุยปัญหาของระบบผลิตในแต่วัน ว่ามีสิ่งใดเกิด มีปัญหาหรือไม่ ระบบเป็นอย่างไรและหามาตรการป้องกัน ตรวจสอบคุณภาพน้้า ดูแลความสะอาดระบบโรงกรอง และรอบบริเวณโรงกรองน้้า ถังน้้าใส หยุดเดินเครื่องแรงต่้า ท้าการโบล์ลตะกอน และฉีดล้างแผ่นเพลตทั้งสอง โรงกรอง ตรวจสอบความเรียบร้อยเพื่อจะเตรียมผลิตน้้าครั้งต่อไป ตรวจสอบ และเช็คสภาพ ระบบการจ่ายสารเคมีว่ามีจุดใดช้ารุด หรือ แตกรั่วหรือไม่ (ถ้ามี) ท้าการซ่อมแซมให้เรียบร้อย ตรวจเช็คสภาพเครื่องจักรกลในการผลิต แต่ละเครื่องแต่ละตัวโดย ละเอียดแล้วบันทึกใว้ในแบบฟอร์มเครื่องจักรกลทั้งแรงต่้า และแรงสูง ตรวจสอบ ความสะอาดโรงสูบแรงต่้า เช็คระบบต่างๆใน ระบบท่อส่งน้้าดิบตรวจสอบระดับน้้า ตรวจสอบการไหลเข้าของน้้าที่เข้าสระพักน้้าดิบ เริ่มเดินเครื่องสูบน้้าแรงต่้า มาสู่ระบบการผลิตน้้า เปิดระบบสารเคมีต่างๆให้ท้างาน ท้าการล้างกรอง โรงกรอง ๑๐๐ ลบ.ม/ช. ฉีดล้างหน้าทราย เริ่มรับเวร ๐๘.๐๐ น.
(17)

๑๗ คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง ขั้นตอนการปฏิบัติงานประจ้าวัน เลขที่ WO-PWA๘-๐๑ หน้า ๕ ใน ๕ แก้ไขครั้งที่ วันที่ ๒๒.๐๐ – ๒๒.๑๕ น. - ท้าการล้างกรอง โรงกรอง ๔๐ ลบ.ม/ช. ฉีดล้างหน้าทราย ๒๒.๑๕ – ๐๔.๐๐ น. - ตรวจสอบความเรียบร้อยทั่วไป ตรวจสอบการตกตะกอน ตรวจสอบการท้างานของเครื่องจักรกลและระบบไฟฟ้า ๐๔.๐๐ – ๐๔.๓๐ น. – หยุดเดินเครื่องแรงต่้า ท้าการปิดระบบสารเคมีทุกอย่าง ๐๕.๐๐ – ๐๖.๐๐ น. - ล้างถังหมักปูนขาว สารส้ม แล้วท้าการเตรียมสารเคมีที่จะผลิตครั้งต่อไป ๐๖.๐๐ – ๐๖.๒๐ น. - ท้าการเดินเครื่องสูบน้้าแรงต่้า เปิดระบบสารเคมีต่างๆ ๐๖.๒๐ – ๐๗.๓๐ น. - ตรวจสอบความเรียบร้อย ภายในโรงสูบ โรงกรอง ความสะอาดต่างๆ ของ ระบบผลิตพร้อมที่จะส่งเวร ๐๗.๓๐ – ๐๘.๐๐ น. - สรุปการการท้างานในแต่ละวัน สรุปยอดการผลิตจ่ายน้้าในแต่ละวัน สรุปการ ใช้สารเคมีในแต่ละวัน ตรวจสอบหน่วยไฟฟ้าแรงต่้า-แรงสูง พร้อมสรุปลงใน สมุด ป.๔๔ ผ และจัดท้ารายงาน และส่งเวรต่อไป เอกสารแนบ (ATTACHMENT) - ภาคผนวก (APPENDIX) -

(18)

๑๘

เรื่อง การเก็บตัวอย่างน้้าในระบบผลิตและระบบจ้าหน่าย

รหัส WI-PWA๘-๐๒

สถานที่ตั้ง :

๑๗๓

หมู่ที่ ๑

ต้าบลท่าตูม อ้าเภอท่าตูม

จังหวัดสุรินทร์ ๓๒๑๒๐

โทรศัพท์ ๐๔๔ – ๕๙๑๖๓๒

วิธีปฏิบัติงาน

(Work Instruction)

สิงหาคม ๒๕๕๔

หน่วยบริการท่าตูม

การประปาส่วนภูมิภาคสาขารัตนบุรี

(19)

๑๙ วิธีปฏิบัติงาน เรื่อง การเก็บตัวอย่างน้้า ในระบบผลิตและระบบจ้าหน่าย เลขที่ WI- PWA๘-๐๒ หน้า i ใน i แก้ไขครั้งที่ วันที่ ตอน ๑.๐ ๒.๐ ๓.๐ ๔.๐ ๕.๐ ๖.๐ ๗.๐ ๘.๐ ๙.๐ ชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์ (OBJECTIVE) ขอบเขต (SCOPE) ผู้รับผิดชอบ (RESPONSIBILITIES ) เอกสารอ้างอิง (REFERENCE) ค้าจ้ากัดความ (DEFINITION) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (WORK PROCEDURES) การบันทึก (RECORDS) การแปลผล (INTERPRETATION) แผนภูมิ (FLOW CHART) เอกสารแนบ (ATTACHMENT) ภาคผนวก (APPENDIX) หน้า ๑/๕ ๑/๕ ๑/๕ ๑/๕ ๑/๕ ๑/๕ ๓/๕ ๓/๕ ๔/๕ ๕/๕ ๕/๕

(20)

๒๐ วิธีปฏิบัติงาน เรื่อง การเก็บตัวอย่างน้้า ในระบบผลิตและระบบจ้าหน่าย เลขที่ WI- PWA๘-๐๒ หน้า ๑ ใน ๕ แก้ไขครั้งที่ วันที่ ๑. วัตถุประสงค์ (OBJECTIVE) เพื่อเก็บตัวอย่างน้้าตามขั้นตอนต่างๆในระบบผลิตน้้าและระบบจ้าหน่ายน้้าประปา เพื่อการตรวจสอบ คุณภาพน้้า ๒. ขอบเขตของงาน (SCOPE) เก็บตัวอย่างน้้าดิบ น้้าดิบหลังเติมปูนขาว/โซดาแอช น้้าดิบหลังเติมสารส้ม น้้าก่อนกรอง น้้ากรองแล้ว น้้าประปา และน้้าในระบบจ้าหน่าย ของหน่วยบริการท่าตูม การประปาส่วนภูมิภาคสาขารัตนบุรี ๓. ผู้รับผิดชอบ (RESPONSIBILITIES) พนักงานผลิตน้้า/ผู้เก็บตัวอย่างน้้า มีหน้าที่รับผิดชอบปฏิบัติตามขั้นตอนการปฎิบัติงาน ๔. เอกสารอ้างอิง (REFERENCE) ๔.๑ การเก็บตัวอย่างน้้า เพื่อการตรวจวิเคราะห์ด้านกายภาพ – เคมี แบคทีเรีย สารเป็นพิษ (โลหะหนัก - สารเคมีก้าจัดศัตรูพืช) (WI-WQC-๐๔) ๔.๒ การเก็บตัวอย่างน้้า เพื่อการตรวจวิเคราะห์แบคทีเรีย (WI-WQC-๐๕) ๕. ค้าจ้ากัดความ (DEFINITION) - ๖. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (WORK PROCEDURES) ๖.๑ ก้าหนดจุดเก็บตัวอย่างน้้า ๖.๑.๑ น้้าดิบจากอ่างเก็บน้้าห้วยแก้ว เก็บจากก๊อกท่อน้้าดิบ ๖.๑.๒ น้้าดิบหลังเติมสารส้ม เก็บจากบริเวณสิ้นสุดถังกวนช้า ก่อนเข้าถังตกตะกอน ๖.๑.๓ น้้าก่อนกรอง เก็บจากรางรับน้้าก่อนเข้าถังกรอง ๖.๑.๔ น้้าประปาเก็บจากก๊อกน้้าภายในโรงกรองรัตนบุรี ๖.๑.๕ น้้าประปาเก็บจากก๊อกน้้าจากบ้านผู้ใช้น้้าห่างจากโรงกรองน้้า ประมาณ ๒ กิโลเมตร

(21)

๒๑ วิธีปฏิบัติงาน เรื่อง การเก็บตัวอย่างน้้า ในระบบผลิตและระบบจ้าหน่าย เลขที่ WI-PWA๘-๐๒ หน้า ๒ ใน ๕ แก้ไขครั้งที่ วันที่ ๖.๒ วิธีการเก็บตัวอย่างน้้า เพื่อตรวจค่า pH ความขุ่น และ Res.Cl2 ๖.๒.๑ เตรียมขวดเก็บตัวอย่างน้้า (ขวดแก้วหรือขวดพลาสติก ชนิดโพลีเอทิลีน) อุปกรณ์ และเครื่อง แก้ว ที่ใช้ในการตรวจสอบ ๖.๒.๒ เขียนรายละเอียดและหมายเลขก้ากับตัวอย่างด้วยหมึกกันน้้าได้ เรียงล้าดับตาม ข้อ ๖.๑.๑ ข้อ ๖.๑.๒ ข้อ ๖.๑.๓ ข้อ ๖.๑.๔ ข้อ ๖.๑.๕ ๖.๒.๓ ต้องล้างขวดเก็บตัวอย่างน้้าด้วยน้้าตัวอย่างก่อนท้าการเก็บ อย่างน้อย ๒ – ๓ ครั้ง ถ้าเก็บจาก ก๊อกน้้า ควรปล่อยน้้าทิ้งประมาณ ๑ – ๕ นาทีก่อนเก็บตัวอย่างน้้า ๖.๒.๔ เก็บตัวอย่างน้้าในระบบผลิตทุกวัน ตัวอย่างละประมาณ ๒๐๐ มล.เพื่อตรวจวัดค่า pH ความขุ่น และ Res.Cl2 ๖.๒.๕ เก็บตัวอย่างน้้าในระบบจ้าหน่ายทุกสัปดาห์ ตัวอย่างละประมาณ 200 มล. เพื่อตรวจวัดค่า pH ความขุ่น และ Res.Cl2 ณ จุดเก็บตัวอย่างน้้า ( ควรตรวจวัด ณ จุดเก็บตัวอย่าง ) ๖.๓ วิธีการเก็บตัวอย่างน้้า เพื่อตรวจคุณภาพน้้าด้าน กายภาพ-เคมี แบคทีเรีย และสารเป็นพิษ ๖.๓.๑ รับขวดเก็บตัวอย่างน้้าจาก กปภ.ข. ๘ ๖.๓.๒ ปฏิบัติตามการเก็บตัวอย่างน้้า เพื่อการตรวจวิเคราะห์ด้านกายภาพ – เคมี สารเป็นพิษ (โลหะหนัก - สารเคมีก้าจัดศัตรูพืช) (WI-WQC-๐๔) และการเก็บตัวอย่างน้้าเพื่อวิเคราะห์ แบคทีเรีย (WI-WQC-๐๕) ๖.๓.๓ เก็บตัวอย่างน้้าในระบบผลิต ข้อ ๖.๑.๑ เพื่อตรวจวิเคราะห์แบคทีเรียและสีทุกสัปดาห์ ๖.๓.๔ เก็บตัวอย่างน้้าในระบบจ้าหน่าย ข้อ ๖.๑.๕ เพื่อตรวจวิเคราะห์แบคทีเรียและสีทุกเดือน ๖.๓.๕ เก็บตัวอย่างน้้าในระบบผลิต ข้อ ๖.๑.๑ เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมี และมลภาวะ ทุกเดือน ๖.๓.๖ เก็บตัวอย่างน้้าในระบบจ้าหน่าย ข้อ ๖.๑.๕ เพื่อตรวจวิเคราะห์ทางเคมีทุก ๖ เดือน ๖.๓.๗ เก็บตัวอย่างน้้าในระบบผลิต ข้อ ๖.๑.๑ เพื่อตรวจวิเคราะห์สารเป็นพิษ (โลหะหนัก สารเคมี ก้าจัดศัตรูพืชและไตรฮาโลมีเทน) ทุก ๖ เดือน ๖.๓.๘ เก็บตัวอย่างน้้าในระบบจ้าหน่าย ข้อ ๖.๑.๕ เพื่อตรวจวิเคราะห์สารเป็นพิษ (โลหะหนักและ ไตรฮาโลมีเทน) ทุกปี

(22)

๒๒ วิธีปฏิบัติงาน เรื่อง การเก็บตัวอย่างน้้า ในระบบผลิตและระบบจ้าหน่าย เลขที่ WI-PWA๘-๐๒ หน้า ๓ ใน ๕ แก้ไขครั้งที่ วันที่ ๖.๔ บันทึกข้อมูลที่จ้าเป็น ก่อนส่งไปยังห้องปฎิบัติการ การบันทึกข้อมูลสามารถท้าก่อนหรือหลังการเก็บ ตัวอย่างน้้า ๖.๔.๑ วันที่เก็บตัวอย่างน้้า ๖.๔.๒ จุดเก็บตัวอย่างน้้า ๖.๔.๓ หมายเลขตัวอย่าง ๖.๔.๔ เวลาเก็บตัวอย่าง (เฉพาะค่าสี) ๖.๕ ส่งตัวอย่างน้้าไปยังห้องปฏิบัติการ ๗. บันทึก (RECORDS) บันทึกข้อมูล ตามข้อ ๖.๔ ก่อนส่งตัวอย่างน้้าไปยังห้องปฏิบัติการ ๘. การแปลผล (INTERPRETATION) -

(23)

๒๓ วิธีปฏิบัติงาน เรื่อง การเก็บตัวอย่างน้้า ในระบบผลิตและระบบจ้าหน่าย เลขที่ WI-PWA๘-๐๒ หน้า ๔ ใน ๕ แก้ไขครั้งที่ วันที่ ๙. แผนภูมิ (FLOW CHART) ด้าเนินการ โดย พนักงานผลิตน้้า บันทึกข้อมูลที่จ้าเป็น ส่งตัวอย่างน้้าไปยังห้องปฏิบัติการ จบ เริ่ม ก้าหนดจุดเก็บตัวอย่างน้้า วิธีการเก็บตัวอย่างน้้า เพื่อตรวจค่า pH ความขุ่น และ Res.Cl2 วิธีการเก็บตัวอย่างน้้า เพื่อตรวจคุณภาพน้้าด้าน กายภาพ-เคมี แบคทีเรีย และสารเป็นพิษ

(24)

๒๔ วิธีปฏิบัติงาน เรื่อง การเก็บตัวอย่างน้้า ในระบบผลิตและระบบจ้าหน่าย เลขที่ WI-PWA๘-๐๒ หน้า ๕ ใน ๕ แก้ไขครั้งที่ วันที่ เอกสารแนบ (ATTACHMENT) -ภาคผนวก (APPENDIX) -

(25)

๒๕

เรื่อง การล้างกรอง

รหัส WI-PWA๘-๐๓

สถานที่ตั้ง :

๑๗๓

หมู่ที่ ๑

ต้าบลท่าตูม อ้าเภอท่าตูม

จังหวัดสุรินทร์ ๓๒๑๒๐

โทรศัพท์ ๐๔๔ - ๕๙๑๖๓๒

วิธีปฏิบัติงาน

(Work Instruction)

สิงหาคม ๒๕๕๔

หน่วยบริการท่าตูม

การประปาส่วนภูมิภาคสาขารัตนบุรี

(26)

๒๖ วิธีปฏิบัติงาน เรื่อง การล้างกรอง เลขที่ WI- PWA๘-๐๓ หน้า i ใน i แก้ไขครั้งที่ วันที่ ตอน ๑.๐ ๒.๐ ๓.๐ ๔.๐ ๕.๐ ๖.๐ ๗.๐ ๘.๐ ๙.๐ ชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์ (OBJECTIVE) ขอบเขต (SCOPE) ผู้รับผิดชอบ (RESPONSIBILITIES ) เอกสารอ้างอิง (REFERENCE) ค้าจ้ากัดความ (DEFINITION) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (WORK PROCEDURES) การบันทึก (RECORDS) การแปลผล (INTERPRETATION) แผนภูมิ (FLOW CHART) เอกสารแนบ (ATTACHMENT) ภาคผนวก (APPENDIX) หน้า ๑/๓ ๑/๓ ๑/๓ ๑/๓ ๑/๓ ๑/๓ ๒/๓ ๒/๓ ๒/๓ ๓/๓ ๓/๓

(27)

๒๗ วิธีปฏิบัติงาน เรื่อง การล้างกรอง เลขที่ WI- PWA๘-๐๓ หน้า ๑ ใน ๓ แก้ไขครั้งที่ วันที่ ๑. วัตถุประสงค์ (OBJECTIVE) เพื่อควบคุมก้าลังการผลิตและผลิตน้้าให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่ก้าหนด ๒. ขอบเขต (SCOPE) ล้างย้อนตะกอนเบาออกจากทรายกรอง เมื่อระดับน้้าในถังกรองสูงเกินจากที่ก้าหนด เพื่อรักษาระดับ อัตราการกรองของถังกรอง ๓. ผู้รับผิดชอบ (RESPONSIBILITIES) พนักงานผลิตน้้าและหัวหน้างานผลิต มีหน้าที่รับผิดชอบปฏิบัติตามขั้นตอนการปฎิบัติงาน ๔. เอกสารอ้างอิง (REFERENCE) - ๕. ค้าจ้ากัดความ (DEFINITION) - ๖. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (WORK PROCEDURES) ๖.๑. ตรวจสอบระดับน้้าในถังกรอง หากระดับน้้าในถังกรองสูงถึงระดับที่ก้าหนด ให้ด้าเนินการล้างกรอง ๖.๒ ปิดประตูน้้าเข้ากรอง แล้วเปิดประตูน้้าล้างกรองทิ้ง จนน้้าไหลออกจากหม้อกรองหมด ๖.๓ ปิดประตูน้้าลงถังน้้าใส ๖.๔ เปิดประตูน้้าล้างหน้าทรายอย่างเดียวประมาณ ๓ - ๕ นาที ๖.๕ เปิดประตูน้้าใส ซึ่งจะท้าหน้าที่เป็นน้้าล้างย้อน พร้อมกับน้้าล้างทรายอีก ๒ นาที ๖.๖ ปิดประตูน้้าล้างหน้าทราย ๖.๗ ปิดประตูน้้าใส (น้้าล้างกรอง) หลังจากล้างกรองเป็นเวลาทั้งหมด ๑๐ - ๑๕ นาที หรือเห็นว่าน้้าล้าง กรองสะอาด

(28)

๒๘ วิธีปฏิบัติงาน เรื่อง การล้างกรอง เลขที่ WI- PWA๘-๐๓ หน้า ๒ ใน ๓ แก้ไขครั้งที่ วันที่ ๖.๘ ปิดประตูน้้าล้างกรองทิ้ง แล้วเปิดประตูน้้ากรองทิ้งจนเหลือระดับน้้าเหนือหน้าทรายประมาณ ๑๐ - ๑๕ ซม. ๖.๙ ปิดประตูน้้าทิ้ง เปิดประตูน้้ากรองทิ้งใช้เวลาประมาณ ๕ นาที่ ๖.๑๐ ปิดประตูน้้ากรองทิ้ง และเปิดประตูน้้าลงถังน้้าใส เพื่อส่งน้้ากรองแล้วไปยังถังน้้าใส ๖.๑๑ บันทึกรายละเอียดลงในแบบฟอร์มบันทึกการล้างกรอง (F- PWA๘-๐๗) ๗. บันทึก (RECORDS) - ๘. การแปลผล (INTERPRETATION) - ๙. แผนภูมิ (FLOW CHART) ด้าเนินการ โดย พนักงานผลิตน้้า/หัวหน้างานผลิต จบ เริ่ม ตรวจสอบระดับน้้าในถังกรอง ล้างกรองด้วยน้้า พร้อมบันทึก

(29)

๒๙ วิธีปฏิบัติงาน (Work Instruction) เรื่อง การล้างกรอง เลขที่ WI- PWA๘-๐๓ หน้า ๓ ใน ๓ แก้ไขครั้งที่ วันที่ เอกสารแนบ (ATTACHMENT) แบบฟอร์มบันทึกการล้างกรอง (F- PWA๘-๐๗) ภาคผนวก (APPENDIX) -

(30)

๓๐

แบบฟอร์มบันทึกการล้างกรอง

หน่วยบริการท่าตูม กปภ. สาขารัตนบุรี กปภ.ข.๘ หม้อกรอง วัน/เดือน/ปี ระดับน้้าในรางรับน้้าเข้ากรอง ระดับน้้าในถังกรอง เวลาเริ่มล้างกรอง เวลาหยุดล้างกรอง ปริมาณน้้าล้างกรอง ผู้บันทึก หมายเหตุ หมายเลข ผู้รับรอง... F- PWA๘-๐๗
(31)

๓๑

เรื่อง กระบวนการผลิตน้้าประปา

รหัส WP-PWA๘-๐๑

สถานที่ตั้ง : ๑๗๓ หมู่ที่ ๑

ต้าบลท่าตูม อ้าเภอท่าตูม

จังหวัดสุรินทร์ ๓๑๒๒๐

โทรศัพท์ ๐๔๔ - ๕๙๑๖๓๒

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

(Work Procedure)

สิงหาคม ๒๕๕๔

หน่วยบริการท่าตูม

การประปาส่วนภูมิภาคสาขารัตนบุรี

(32)

๓๒ คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง กระบวนการผลิตน้้าประปา เลขที่ WP-PWA๘-๐๑ หน้า i ใน i แก้ไขครั้งที่ วันที่ ตอน ๑.๐ ๒.๐ ๓.๐ ๔.๐ ๕.๐ ๖.๐ ๗.๐ ๘.๐ ๙.๐ ๑๐.๐ ชื่อเรื่อง วัตถุประสงค์ (OBJECTIVE) นโยบาย (POLICIES) ขอบเขต (SCOPE) ผู้รับผิดชอบ (RESPONSIBILITIES ) เอกสารอ้างอิง (REFERENCE) ค้าจ้ากัดความ (DEFINITION) ขั้นตอนการปฏิบัติงาน (WORK PROCEDURES) การบันทึก (RECORDS) การแปลผล (INTERPRETATION) แผนภูมิ (FLOW CHART) เอกสารแนบ (ATTACHMENT) ภาคผนวก (APPENDIX) หน้า ๑/๕ ๑/๕ ๑/๕ ๑/๕ ๒/๕ ๒/๕ ๒/๕ ๓/๕ ๓/๕ ๔/๕ ๔/๕ ๕/๕

(33)

๓๓ คู่มือขั้นตอนการปฏิบัติงาน เรื่อง กระบวนการผลิตน้้าประปา เลขที่ WP- PWA๘-๐๑ หน้า ๑ ใน ๕ แก้ไขครั้งที่ วันที่ ๑. วัตถุประสงค์ (OBJECTIVE) เพื่อใช้เป็นมาตรฐานการควบคุมและปฏิบัติงานของระบบผลิตน้้าประปาของหน่วยบริการท่า ตูม ให้สามารถผลิตน้้าประปาได้คุณภาพตามมาตรฐานน้้าประปาที่ กปภ. ก้าหนด ๒. นโยบาย (POLICIES) ผลิตน้้าประปาที่มีคุณภาพได้มาตรฐานน้้าประปา ของการประปาส่วนภูมิภาค ๓. ขอบเขต (SCOPE) ส้าหรับการผลิตน้้าประปา

References

Related documents

On September 2, 2008, the USD (AT&L) issued a memorandum on Requirements Management Certification Training Program Policy, outlining certification training requirements

Flexible, because using various combinations of drivers it is possible to support all sorts of input devices ranging from the mouse to the camera with complex gesture

This type includes the functional areas of sales force automation, contact management, automation of marketing activities and customer service.... This book focuses on

File list box Line object Data control Pointer Label control Frame control Check box Combo box?. Horizontal scroll bar

Damaged LEDs will show some unusual characteristic such as the forward voltage becomes lower, or the LEDs do not light at the low current.. All devices, equipment and

in case of a network with 17472 nodes, ratio between uplink capacity and stream bit rate equal to 2 and 2 groups, for three different values of the number of neighbors per group.

Colliers International makes no guarantees, representations or warranties of any kind, expressed or implied, regarding the information including, but not limited to, warranties