• No results found

พระราชบ ญญ ต การท างานของคนต างด าว พ.ศ.๒๕๒๑

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "พระราชบ ญญ ต การท างานของคนต างด าว พ.ศ.๒๕๒๑"

Copied!
11
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

พระราชบัญญัติการทํางานของคนตางดาว พ.ศ.๒๕๒๑ บัญญัติไวควบคุมการทํางานของคนตางดาวที่ขออนุญาตทํางานในประเทศไทยและสงวนอาชีพ บางอยางไวสําหรับคนไทย โดยคนตางดาวที่จะขออนุญาตทํางานไดมี 3 ประเภท คือ · คนตางดาวที่มีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร หรือไดรับอนุญาตใหเขามาในราชอาณาจักร เปนการชั่วคราว แตไมใชนักทองเที่ยว หรือผูเดินทางผาน · คนตางดาวที่ไดรับอนุญาตใหเขามาทํางานในราชอาณาจักร ตามกฎหมายวาดวยการ สงเสริมการลงทุน หรือตามกฎหมายอื่น · คนตางดาวที่ถูกเนรเทศ ซึ่งไดรับการผอนผันใหไปประกอบอาชีพ ณ ที่แหงใดแทนการ เนรเทศ หรืออยูในระหวางรอการเนรเทศ คนตางดาวที่เขาเมืองโดยไมถูกตองตาม กฎหมาย หรืออยูในระหวางรอการสงกลับออกนอกราชอาณาจักร คนตางดาวที่เกิดใน ราชอาณาจักรแตไมไดรับสัญชาติไทยหรือถูกถอนสัญชาติ ซึ่งสามารถทํางานได 27 อาชีพตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด พระราชบัญญัติการทํางานของคนตางดาว พ.ศ.๒๕๒๑ :: พ.ร.บ การทํางานของคนตางดาว พ.ศ. 2521 มาตราที่ 1-24 :: บทนิยาม มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา " พระราชบัญญัติการทํางานของคน ตางดาว พ.ศ.2521 มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเปนตน ไป :: ยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 322 มาตรา 3 ใหยกเลิกประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 322 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 :: บทยกเวนใชบังคับ มาตรา 4 พระราชบัญญัตินี้ไมใชบังคับแกการปฏิบัติหนาที่ในราชอาณาจักรของคนตางดาว เฉพาะในฐานะดังตอไปนี้ (1) บุคคลในคณะผูแทนทางทูต (2) บุคคลในคณะผูแทนทางกงศุล (3) ผูแทนของประเทศสมาชิก และพนักงานขององคการสหประชาชาติ และทบวงการชํานัญ พิเศษ

(2)

(4) คนรับใชสวนตัว ซึ่งเดินทางจากตางประเทศเพื่อมาทํางานประจํา อยู กับบุคคลใน (1) หรือ (2) หรือ (3) (5) บุคคลซึ่งปฏิบัติหนาที่หรือภารกิจ ตามความตกลงที่รัฐบาลไทยทําไว กับรัฐบาลตางประเทศ หรือองคการระหวางประเทศ (6) บุคคลซึ่งปฏิบัติหนาที่ หรือภารกิจเพื่อประโยชนในทางการศึกษา วัฒนธรรมศิลปะ การกีฬา หรือกิจการอื่น ทั้งนี้ ตามที่จะไดกําหนดโดยพระราช กฤษฎีกา (7) บุคคลซึ่งรัฐบาลอนุญาตใหเขามาปฏิบัติหนาที่ หรือภารกิจอยางหนึ่ง อยางใด :: บททั่วไป มาตรา 5 ในพระราชบัญญัตินี้ "คนตางดาว" หมายความวา บุคคลธรรมดาซึ่งไมมีสัญชาติไทย "ทํางาน" หมายความวา การทํางานโดยใชกําลังกายหรือความรู ดวย ประสงคคาจางหรือ ประโยชนอื่นใดหรือไมก็ตาม "ใบอนุญาต" หมายความวา ใบอนุญาตทํางาน "ผูรับใบอนุญาต" หมายความวา คนตางดาวซึ่งไดรับใบอนุญาต "คณะกรรมการ" หมายความวา คณะกรรมการพิจารณาการทํางานของคนตางดาว "พนักงานเจาหนาที่" หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการ ตามพระราชบัญญัตินี้ "นายทะเบียน" หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหเปนนายทะเบียน การทํางานของคนตาง ดาว "อธิบดี" หมายความวา อธิบดีกรมแรงงาน "รัฐมนตรี" หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ :: งานที่หามคนตางดาวทํา มาตรา 6 ภายใตบังคับ มาตรา 12 งานใดที่หามคนตางดาวทําในทองที่ใดเมื่อใดโดยหาม เด็ดขาด หรือหามโดยมีเงื่อนไขอยางใดเพียงใดใหกําหนดโดยพระราชกฤษฎีกา :: งานที่มิไดหาม มาตรา 7 ภายใตบังคับ มาตรา 10 งานใดที่มิไดหามไวในพระราช กฤษฎีกา ซึ่งออกตาม ความใน มาตรา 6 คนตางดาวจะทําไดตอเมื่อไดรับใบอนุญาตจากอธิบดีหรือเจาพนักงานซึ่ง อธิบดีมอบหมายเวนแตคนตางดาวที่เขา มาในราชอาณาจักรเปนการชั่วคราว ตามกฎหมายวา ดวยคนเขาเมืองเพื่อ ทํางานอันจําเปนและเรงดวนมีระยะการทํางานไมเกินสิบหาวัน แตคนตาง ดาวนั้น จะทํางานนั้นไดเมื่อไดมีหนังสือแจงใหอธิบดีหรือเจาพนักงานซึ่งอธิบดี มอบหมายทราบ ตามแบบที่อธิบดีกําหนด

(3)

:: กรณีขอยื่นใบอนุญาตแทนคนตางดาว มาตรา 8 ภายใตบังคับกฎหมายวาดวยคนเขาเมืองบุคคลใดประสงค จะใหคนตางดาวเขามา ทํางานในกิจการของตนในราชอาณาจักรจะยื่นคําขอรับใบอนุญาตแทนคนตางดาวตออธิบดี หรือเจาพนักงานซึ่งอธิบดีมอบหมาย ก็ได อธิบดีหรือเจาพนักงานซึ่งอธิบดีมอบหมาย จะออกใบอนุญาตใหแกคนตาง ดาวตามวรรคหนึ่งได ตอเมื่อคนตางดาวนั้นเขามาในราชอาณาจักรแลว :: เงื่อนไขในใบอนุญาต มาตรา 9 ในการอนุญาตใหคนตางดาวทํางานตาม มาตรา 7 และ มาตรา 8 อธิบดีหรือเจา พนักงานซึ่งอธิบดีมอบหมายจะกําหนดเงื่อนไขอยาง ใดเพื่อใหคนตางดาวปฏิบัติก็ไดในกรณี เชนนั้น ตองใหคนตางดาวใหคํารับรองกอนวาจะสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขนั้นได และถาเปน กรณีตาม มาตรา 8 คน ตางดาวนั้นตองใหทํารับรองกอนเดินทางเขามาในราชอาณาจักร :: ใบอนุญาตสงเสริมการลงทุน มาตร 10 คนตางดาวซึ่งไดรับอนุญาตใหเขามาทํางานในราชอาณาจักร ตามกฎหมายวา ดวยการสงเสริมการลงทุนหรือตามกฎหมายอื่น ใหยื่นคําขอรับ ใบอนุญาตตออธิบดีหรือเจา พนักงาน ซึ่งอธิบดีมอบหมายภายในสามสิบวันนับแตวันที่คนตางดาวนั้นเขามาใน ราชอาณาจักรแตถาคนตางดาวนั้นอยูใน ราชอาณาจักรแลวระยะเวลาสามสิบวันใหนับแตวันที่ ทราบการไดรับอนุญาตให ทํางานตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุนหรือตามกฎหมาย อื่น ใน ระหวางรอรับใบอนุญาตใหผูยื่นคําขอทํางานไปพลางกอนได เมื่ออธิบดีหรือเจาพนักงาน ซึ่งอธิบดีมอบหมายไดรับคําขอแลวใหออกใบอนุญาตใหโดยมิชักชา :: ลักษณะจําเพาะ มาตรา 11 คนตางดาวซึ่งจะขอรับใบอนุญาตตาม มาตรา 7 ตองมี ลักษณะดังตอไปนี้ (1) มีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักร หรือไดรับอนุญาตใหเขามาในราชอาณา จักรเปนการชั่วคราว ตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมืองโดยมิใชไดรับอนุญาตให เขามาในฐานะนักทองเที่ยว หรือผูเดิน ทางผาน (2) ไมเปนบุคคลที่ขาดคุณสมบัติ หรือตองหามตามเงื่อนไขที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดในราช กิจจานุเบกษา :: คนตางดาวไมถูกตอง มาตรา 12 คนตางดาวดังตอไปนี้จะทํางานใดไดเฉพาะที่รัฐมนตรีกําหนดโดยประกาศใน

(4)

ราชกิจจานุเบกษา ในประกาศดังกลาวรัฐมนตรีจะกําหนดเงื่อนไขอยางใดไวก็ไดตามที่ เห็นสมควร (1) คนตางดาวที่ถูกเนรเทศตามกฎหมายวาดวยการเนรเทศ ซึ่งไดรับ การผอนผันใหไป ประกอบอาชีพ ณ ที่แหงใดแทนการเนรเทศหรืออยูใน ระหวางรอการเนรเทศ (2) คนตางดาวที่เขามาอยูในราชอาณาจักรโดยไมไดรับอนุญาต ตาม กฎหมายวาดวยคนเขา เมือง และอยูในระหวางรอการสงกลับออกนอก ราชอาณาจักร (3) คนตางดาวที่เกิดในราชอาณาจักร แตไมไดรับสัญชาติไทยตาม ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 337 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 หรือ ตามกฎหมายอื่น (4) คนตางดาวโดยผลของการถูกถอนสัญชาติ ตามประกาศของคณะ ปฏิวัติฉบับที่ 337 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 หรือตามกฎหมายอื่น คนตางดาวจะทํางานใดที่รัฐมนตรีกําหนดตามวรรคหนึ่งได ตอเมื่อไดรับ ใบอนุญาตจากอธิบดี หรือเจาพนักงานซึ่งอธิบดีมอบหมาย :: อายุใบอนุญาต มาตรา 13 ใบอนุญาตที่ออกใหตามพระราชบัญญัตินี้ใหมีอายุหนึ่งปนับแต วันออกเวนแต (1) ใบอนุญาตที่ออกใหแกคนตางดาวตาม มาตรา 10 ใหมีอายุเทา ระยะเวลาที่ไดรับอนุญาตให เขามาทํางานตามกฎหมายนั้นๆ (2) ใบอนุญาตที่ออกใหแกคนตางดาวตาม มาตรา 12 ใหมีอายุตามที่ หรือเจาพนักงานซึ่งอธิบดี มอบหมายกําหนดแตไมใหเกินหนึ่งปนับแตวันออก (3) ใบอนุญาตที่ออกใหแกคนตางดาว ซึ่งไดรับอนุญาตใหเขามาใน ราชอาณาจักรเปนการ ชั่วคราวตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมือง ใหมีอายุเทา ระยะเวลาที่คนตางดาวไดรับอนุญาตให อยูในราชอาณาจักร ในขณะออกใบ อนุญาต (4) ใบอนุญาตที่ออกใหแกคนตางดาว ซึ่งไดรับอนุญาตใหเขามาอยูใน ราชอาณาจักรเปนการ ชั่วคราว ตามกฎหมายวาดวยคนเขาเมืองโดยไมมี กําหนดเวลาแนนอนใหมีอายุสามสิบวันนับ แตวันออก :: การขยายระยะเวลาตาม มาตรา 10 มาตรา 14 ในกรณีที่ผูรับใบนุญาตตาม มาตรา 10 ไดรับการขยายระยะเวลาการทํางานตาม กฎหมายนั้น ๆใหผูรับใบอนุญาตแจงตอนายทะเบียน ภายในสามสิบวัน นับแตวันที่ไดรับการ ขยายระยะเวลาและใหนายทะเบียน จดแจงการขยายระยะเวลา และใหนายทะเบียนจดแจงการ ขยายระยะเวลา นั้นลงในใบอนุญาต :: การตออายุใบอนุญาต มาตรา 15 กอนใบอนุญาตสิ้นอายุ และผูรับใบอนุญาตประสงคจะทํางาน นั้นตอไปใหยื่นคําขอ

(5)

ตออายุใบอนุญาตตอนายทะเบียน ในกรณีเชนนี้ ใหผูขอตออายุใบอนุญาตทํางานไปพลางกอน ได จนกวานายทะเบียนจะมีคําสั่งไมอนุญาต ใหตออายุ การตออายุใบอนุญาตใหตอไดครั้งละ หนึ่งป เวนแต (1) การตออายุใบอนุญาตตาม มาตรา 13 (3) ใหตออายุไดอีกไมเกิน ระยะเวลาที่ผูรับใบอนุญาต นั้น ไดรับการขยายระยะเวลาใหอยูใน ราชอาณาจักร (2) การตออายุใบอนุญาตตาม มาตรา 13 (4) ใหตออายุไดอีกครั้งละ สามสิบวัน เวนแตคนตาง ดาวนั้นไดรับอนุญาตใหอยูในราชอาณาจักรตาม กฎหมายวาดวยคนเขาเมืองตอไป โดยมี กําหนดเวลาที่แนนอนเกินสามสิบวัน ใหตออายุใบอนุญาตได เทาระยะเวลาที่รับอนุญาตใหอยู ในราชอาณาจักร แตไมเกินหนึ่งป :: กฎกระทรวง มาตรา 16 รัฐมนตรีมีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนดแบบหลักเกณฑและวิธีการในกรณี ดังตอไปนี้ (1) การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาตตาม มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 10 และ มาตรา 12 (2) การขอตออายุใบอนุญาตตาม มาตรา 15 (3) การขอรับใบแทนและการออกใบแทนใบอนุญาตตาม มาตรา 19 (4) การขออนุญาตและการอนุญาตใหเปลี่ยนการทํางานหรือเปลี่ยนทองที่หรือสถานที่ในการ ทํางานตาม มาตรา 21 (5) การออกบัตรประจําตัวตาม มาตรา 31 :: การอุทธรณ มาตรา 17 ในกรณีที่ไมออกใบอนุญาตหรือไมอนุญาตตาม มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 10 มาตรา 12 หรือไมใหตอใบอนุญาตตาม มาตรา 15 หรือไม อนุญาตใหทํางานอื่นหรือเปลี่ยน ทองที่หรือสถานที่ในการทํางานตาม มาตรา 21 ผูขอมีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีโดยทําเปน หนังสือยื่นตออธิบดีหรือ เจาพนักงานซึ่งอธิบดีมอบหมายหรือนายทะเบียนแลวแตกรณีภายใน สามสิบวัน นับแตวันที่ไดทราบคําสั่งไมอนุญาตเมื่อไดรับอุทธรณแลวใหผูรับอุทธรณ นําสง คณะกรรมการภายในสิบหาวัน ใหคณะกรรมการพิจารณาเสนอความเห็น ตอรัฐมนตรีภายในสิบ หาวัน และใหรัฐมนตรีวินิจฉัยคําอุทธรณภายในสามสิบวัน คําวินิจฉัยของรัฐมนตรีใหเปนที่สุด ในกรณีอุทธรณคําสั่งไมใหตออายุใบอนุญาตตาม มาตรา 15 ที่กลาวใน วรรคหนึ่ง ผูอุทธรณมี สิทธิทํางานไปพลางกอนได จนกวาจะมีคําวินิจฉัยอุทธรณ ของรัฐมนตรี :: ใบอนุญาตตองอยูกับตัว มาตรา 18 ผูรับใบอนุญาตตองมีใบอนุญาตอยูกับตัวหรืออยู ณ ที่ทํางานในระหวางทํางาน เพื่อ

(6)

แสดงตอพนักงานเจาหนาที่หรือนายทะเบียนไดเสมอ :: ใบอนุญาตชํารุดสูญหาย มาตรา 19 ถาใบอนุญาตชํารุดในสาระสําคัญหรือสูญหายใหผูรับใบอนุญาตยื่นคําขอรับใบแทน ตอนายทะเบียนภายในสิบหาวัน นับแตวันที่ทราบการ ชํารุด หรือสูญหาย :: คนตางดาวเลิกทํางาน มาตรา 20 ในกรณีที่คนตางดาวเลิกทํางานตามที่ระบุไวในใบอนุญาตใหสงมอบใบอนุญาตคืน ใหแกนายทะเบียน ในทองที่จังหวัดที่ตั้งสถานที่ทํางานภายในเจ็ดวัน นับแตวันที่เลิกทํางานนั้น :: กรณีตองไดรับอนุญาต มาตรา 21 หามมิใหผูรับใบอนุญาตทํางานอื่นใดนอกจากงานที่ระบุไวในใบอนุญาต หรือเปลี่ยน ทองที่หรือสถานที่ในการทํางานใหแตกตางไปจากที่ กําหนดไวในใบอนุญาตเวนแตไดรับ อนุญาตจากนายทะเบียน :: หามรับคนตางดาวซึ่งไมมีใบอนุญาตทํางาน มาตรา 22 หามมิใหบุคคลใดรับคนตางดาวซึ่งไมมีใบอนุญาตเขาทํางาน หรือรับคนตางดาวเขา ทํางานที่มีลักษณะหรือเงื่อนไขในการทํางานแตกตางไปจากที่กําหนดไวในใบอนุญาต :: หนาที่นายจาง มาตรา 23 บุคคลใดรับคนตางดาวเขาทํางานหรือใหคนตางดาวยายไปทํางานในทองที่อื่น นอกจากที่ระบุไวในใบอนุญาต หรือมีคนตางดาวออกจากงาน ใหบุคคลนั้นแจงตอนายทะเบียน ภายในสิบหาวันนับแตวันที่รับคนตางดาว เขาทํางานหรือวันที่คนตางดาวนั้นยายหรือออกจาก งาน แลวแตกรณี การแจงตามวรรคหนึ่งใหทําตามแบบที่อธิบดีกําหนด :: คณะกรรมการพิจารณาการทํางานของคนตางดาว มาตรา 24 ใหมีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกวา " คณะกรรมการ พิจารณาการทํางานของคน ตางดาว" ประกอบ ดวยปลัดกระทรวงมหาดไทย หรือผูซึ่งปลัดกระทรวงมหาดไทยมอบหมาย เปนประธานผูแทนกระทรวงการ ตางประเทศ ผูแทนกระทรวงอุตสาหกรรม ผูแทนกรมการ ปกครอง ผูแทนกรม ตํารวจ ผูแทนกรมประชาสงเคราะหผูแทนกรมอัยการ ผูแทนกรมทะเบียน การคา ผูแทนกรมการคาภายใน ผูแทนสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ผูแทน สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และ กรรมการอื่นซึ่งรัฐมนตรี แตงตั้งไมเกินสามคนเปนกรรมการและผูแทนกรมแรงงานเปนกรรมการและเลขานุการ

(7)

:: พ.ร.บ การทํางานของคนตางดาว พ.ศ. 2521 มาตราที่ 25-32 :: วาระของกรรมการ มาตรา 25 กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งอยูในตําแหนงคราวละสองป กรรมการ ซึ่งพนตําแหนง อาจไดรับแตงตั้งอีกได มาตรา 26 กรรมการซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งพนจากตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระเมื่อ (1) ตาย (2) ลาออก (3) รัฐมนตรีใหออก ในกรณีที่มีการแตงตั้งกรรมการในระหวางที่กรรมการ ซึ่งแตงตั้งไวแลว ยังมีวาระอยูในตําแหนง ไมวาจะเปนการแตงตั้งเพิ่มขึ้นหรือแตงตั้งซอมให ผูไดรับแตงตั้งนั้นอยูในตําแหนงเทากับวาระที่ เหลืออยูของกรรมการ ซึ่ง แตงตั้งไวแลวนั้น :: หนาที่วินิจฉัย มาตรา 27 คณะกรรมการมีหนาที่วินิจฉัยใหคําแนะนําหรือคําปรึกษาแก รัฐมนตรีดังตอไปนี้ (1) การออกพระราชกฤษฎีกาตาม มาตรา 4(6) และ มาตรา 6 (2) การกําหนดงานที่รัฐมนตรีจะประกาศตาม มาตรา 12 (3) การออกกฎกระทรวงตาม มาตรา 16 (4) การพิจารณาอุทธรณคําสั่งตาม มาตรา 17 (5) เรื่องอื่น ๆ ที่รัฐมนตรีมอบหมาย :: การประชุม มาตรา 28 การประชุมคณะกรรมการตองมีกรรมการมาประชุมไมต่ํากวากึ่งหนึ่งของจํานวน กรรมการทั้งหมด จึงเปนองคประชุม ถาประธาน กรรมการไมอยูในประชุมหรือไมสามารถ ปฏิบัติหนาที่ได ใหกรรมการซึ่งมา ประชุมเลือกกรรมการดวยกันคนหนึ่งเปนประธานในที่ ประชุม มติของที่ประชุมใหถือเสียงขางมาก กรรมการคนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการ ลงคะแนน ถา คะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้น อีกเสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด :: คณะอนุกรรมการ มาตรา 29 คณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อใหทํากิจการหรือพิจารณา เรื่อง ใดอันอยูในขอบเขตแหงหนาที่ของคณะกรรมการ ใหนําความใน มาตรา 28 มาใชบังคับแกการประชุมคณะอนุกรรมการ โดยอนุโลม

(8)

:: อํานาจปฎิบัติการ มาตรา 30 ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัตินี้ อธิบดีหรือเจาพนักงาน ซึ่งอธิบดี มอบหมาย นายทะเบียน หรือพนักงานเจาหนาที่มีอํานาจ (1) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใดมาชี้แจงขอเท็จจริง รวมทั้งให สงเอกสารหรือหลักฐาน (2) เขาไปในสถานที่ใด ที่มีเหตุอันสมควรสงสัยวามีคนตางดาวทํางาน ในระหวางเวลาที่เชื่อได วามีการทํางาน เพื่อการตรวจสอบใหการเปนไป ตามพระราชบัญญัตินี้ในการนี้ใหมีอํานาจ สอบถามขอเท็จจริง หรือเรียก เอกสารหรือหลักฐานใด ๆ จากบุคคลที่รับผิดชอบหรือเกี่ยวของ ซึ่งอยูในสถาน ที่ดังกลาวได ในการปฏิบัติหนาที่ตาม (2)ใหเจาของหรือผูครอบครองสถานที่ ดังกลาว หรือบุคคลผูรับผิดชอบหรือเกี่ยวของ ซึ่งอยูในสถานที่ดังกลาวหรือบุคคล ผูรับผิดชอบ หรือเกี่ยวของซึ่งอยูในสถานที่ดังกลาวอํานวยความสะดวกตามสมควร มาตรา 31 นายทะเบียนและพนักงานเจาหนาที่ตองมีบัตรประจําตัว ในการปฏิบัติการตามหนาที่ นายทะเบียนและพนักงานเจาหนาที่ตอง แสดงบัตรประจําตัวเมื่อ บุคคลซึ่งเกี่ยวของรองขอ มาตรา 32 ในการปฏิบัติหนาที่ตามพระราชบัญญัติ ใหอธิบดีหรือ เจาพนักงาน ซึ่งอธิบดี มอบหมาย นายทะเบียน หรือพนักงานเจาหนาที่เปน เจาพนักงาน ตามประมวลกฎหมายอาญา :: พ.ร.บ การทํางานของคนตางดาว พ.ศ. 2521 มาตราที่ 33-47 :: บทกําหนดโทษ มาตรา 33 คนตางดาวผูใดทํางานโดยฝาฝนพระราชกฤษฎีกาที่ออกตาม มาตรา 6 ตองระวาง โทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับตั้งแตสองพันบาทถึงหนึ่ง แสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 34 คนตางดาวผูใดทํางาน โดยฝาฝน มาตรา 7 หรือฝาฝน เงื่อนไขที่กําหนดตาม มาตรา 9 หรือทํางานโดยไมไดรับใบอนุญาต หรือฝาฝน เงื่อนไขที่รัฐมนตรีกําหนดตาม มาตรา 12 ตอง ระวางโทษจําคุกไมเกินสาม เดือน หรือปรับไมเกินหาพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 35 คนตางดาวผูใดทํางานโดยฝาฝน มาตรา 10 หรือ มาตรา 18 หรือ มาตรา 20 ตอง ระวางโทษปรับไมเกินหนึ่งพันบาท มาตรา 36 ผูรับใบอนุญาตผูใดไมปฏิบัติตาม มาตรา 14 หรือ มาตรา 19 ตองระวางโทษปรับไม เกินหารอยบาท

(9)

มาตรา 37 คนตางดาวผูใดทํางานเมื่อใบอนุญาตสิ้นอายุแลวโดยมิไดยื่น คําขอตออายุใบอนุญาต กอนใบอนุญาตสิ้นอายุหรือไดยื่นคําขอแลว แตนาย ทะเบียนมีคําสั่งไมอนุญาตใหตออายุ ใบอนุญาตตาม มาตรา 15 และคนตางดาว ผูนั้นมิไดอุทธรณ คําสั่งของนายทะเบียนหรือได อุทธรณแลว แตรัฐมนตรีมี คําวินิจฉัยไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาตตาม มาตรา 17 ตองระวาง โทษจําคุก ไมเกินสามเดือนหรือปรับไมเกินหาพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 38 ผูรับใบอนุญาตผูใดฝาฝน มาตรา 21 ตองระวางโทษจําคุก ไมเกินหนึ่งเดือนหรือปรับ ไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 39 ผูใดรับคนตางดาวเขาทํางานโดยฝาฝน มาตรา 22 ตอง ระวางโทษจําคุกไมเกินสาม ป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ มาตรา 40 ผูใดฝาฝน มาตรา 23 หรือ มาตรา 42 ตองระวางโทษปรับ ไมเกินหนึ่งพันบาท มาตรา 41 ผูใดไมปฏิบัติตามหนังสือสอบถามหรือหนังสือเรียกหรือไม ยอมใหขอเท็จจริงหรือไม สงเอกสาร หรือหลักฐาน หรือขัดขวาง หรือไมอํานวยความสะดวกแกอธิบดีหรือเจาพนักงานซึ่ง อธิบดีมอบหมาย หรือนาย ทะเบียน หรือพนักงานเจาหนาที่ซึ่งปฏิบัติหนาที่ตาม มาตรา 30 ตองระวาง โทษปรับไมเกินสามพันบาท มาตรา 42 บุคคลใดมีคนตางดาวทํางานในธุรกิจของตนกอนวันที่ ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับ ที่ 322 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ใชบังคับ และยังมิไดแจงรายการเกี่ยวกับคนตางดาวที่ ทํางานอยูกับตนตามขอ 35 แหงประกาศของคณะปฏิวัติดังกลาวจนถึงวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช บังคับ ให บุคคลนั้นแจงรายการดังกลาวตามแบบที่อธิบดีกําหนดภายในสี่สิบหาวัน นับแต วันที่ พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ มาตรา 43 ใบอนุญาตที่ออกใหตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 322 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ใหใชไดตอไปตราบเทาที่ใบอนุญาตยัง ไมสิ้นอายุและผูรับใบอนุญาตยังทํางานที่ ไดรับอนุญาตนั้น มาตรา 44 คนตางดาวซึ่งมีถิ่นที่อยูในราชอาณาจักรตามกฎหมายวาดวย คนเขาเมือง และ ทํางานอยูแลวกอนวันที่ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 322 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ใชบังคับ และไดยื่นคําขอรับใบอนุญาตตอ อธิบดีหรือเจาพนักงานซึ่งอธิบดีมอบหมายตามขอ 34 วรรคหนึ่ง แหงประกาศ ของคณะปฏิวัติดังกลาว และอธิบดีหรือเจาพนักงานซึ่งอธิบดี มอบหมายไดออก ใบอนุญาตแลวแตคนตางดาวผูนั้นยังมิไดรับใบอนุญาตและยังคงทํางานอยูใน วันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหไปรับใบอนุญาตภายในหกสิบวันนับแตวันที่ พระราชบัญญัตินี้

(10)

ใชบังคับหากไมไปขอรับใบอนุญาตภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหถือวาใบอนุญาตนั้นสิ้นผล เมื่อครบกําหนดเวลาเชนวานั้น มาตรา 45 คนตางดาวตาม มาตรา 12 ซึ่งทํางานใดอยูแลวในวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับให ทํางานนั้นตอไปไดจนกวาจะมีประกาศของรัฐมนตรี ตาม มาตรา 12 เมื่อมีประกาศของรัฐมนตรี ตาม มาตรา 12 แลวในกรณีที่งานที่คนตางดาวดังกลาวทําอยูเปนงานที่รัฐมนตรีไดประกาศให ทําไดใหทํางานนั้นไดตอไป แตตองยื่นคําขอรับใบอนุญาตภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ประกาศ ของรัฐมนตรี ดังกลาวใชบังคับ ในกรณีที่งานที่คนตางดาวดังกลาวทําอยูนั้นมิใชเปนงานที่ รัฐมนตรีไดประกาศใหทําได ใหทํางานนั้นตอไปไดอีกหนึ่งรอยแปดสิบวันนับ แตวันที่ พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ :: บทเฉพาะกาล มาตรา 46 บรรดาพระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง และประกาศหรือคําสั่งของรัฐมนตรีหรืออธิบดี หรือใบอนุญาตซึ่งไดออกหรือสั่งโดยอาศัยอํานาจ ตามประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 322 ลง วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 เทาที่ไมขัด หรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ ใหใชบังคับได ตอไป และใหถือเสมือนเปนพระราชกฤษฎีกากฎกระทรวงและประกาศ หรือคําสั่งของรัฐมนตรี หรืออธิบดีหรือใบอนุญาตที่ออกตามความในพระราชบัญญัติ :: ผูรักษาการ มาตรา 47 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตาม พระราชบัญญัตินี้ และใหมี อํานาจแตงตั้งนายทะเบียนและพนักงานเจาหนาที่ ออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมไม เกินอัตราทายพระราชบัญญัตินี้ ยกเวนคาธรรมเนียมและกําหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได พ.ร.บ. การทํางานของคนตางดาว (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544 มาตราที่ 1-3 :: พระราชบัญญัติ การทํางานของคนตางดาว (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ให ไว ณ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2544 เปนปที่ 56 ในรัชกาลปจจุบัน มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา "พระราชบัญญัติ การทํางานของคนตางดาว (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2544" มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตน ไป

(11)

มาตรา 3 ใหยกเลิกอัตราคาธรรมเนียมทายพระราชบัญญัติ การทํางานของคนตางดาว พ.ศ. 2521 และใหใชอัตราคาธรรมเนียมตอไปนี้แทน "อัตราคาธรรมเนียม (1) ใบอนุญาต ฉบับละ 10,000 บาท (2) การตออายุใบอนุญาตทํางาน หรือ การขยายระยะเวลาทํางาน ครั้งละ 10,000 บาท (3) ใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ 3,000 บาท (4) การอนุญาตใหทํางานอื่น หรือ เปลี่ยนทองที่หรือสถานที่ในการทํางาน ครั้งละ 5,000 บาท (5) คายื่นคําขอ ฉบับละ 100 บาท ในการออกกฎกระทรวงกําหนดคาธรรมเนียมจะกําหนด คาธรรมเนียมใหแตกตางกันโดยสาขาอาชีพของคนตางดาวก็ได" :: ผูรับสนองพระบรมราชโองการ พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี *หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โยที่อัตราคาธรรมเนียมทาย พระราชบัญญัติ การทํางานของคนตางดาว พ.ศ. 2521 ที่ใชบังคับอยูในปจจุบัน ไมเหมาะสมกับ สภาพเศรษฐกิจและคาของเงินตราที่เปลี่ยนแปลงไป สมควรปรับปรุงอัตราคาธรรมเนียมทาย พระราชบัญญัติดังกลาวใหเหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

References

Related documents

เมื่อคลิกเลือกรูปแบบของคําบรรยายแลว ใหคลิกเมาสจุดเริ่มตน โดยกดเมาสคางไวแลว ลากจนไดขนาดที่ตองการ จากนั้นจึงปลอยมือ เมื่อไดกรอบคําบรรยายแลว

หนวยที่ 3 การจัดการกับขอมูลและสมุดงาน สาระสําคัญ การทํางานดวยโปรแกรมไมโครซอฟทเอ็กเซลนั้น ตองคํานึงถึงหลักเกณฑและวิธีจัดการ กับขอมูลและสมุดงาน

หนา ๓๑ เลม ๑๒๗ ตอนที่ ๒๓ ก ราชกิจจานุเบกษา ๒ เมษายน ๒๕๕๓

ถ้าสัญญามีการขนส่งทางทะเลรวมอยู่ด้วยและความ เสียหายเกิดขึ้นในช่วงการขนส่งทางทะเล MTO จ ากัด ความรับผิดที่ 10,000 บาท

2542 หมวด 6 มาตรา 48 ระบุวา ใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดให มี ระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

ค ำสั่งคณะนิเทศศำสตร์ ที่ 8/2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมกำรบริกำรวิชำกำรแก่สังคมและส่งเสริมงำนวิจัยและต ำรำ

ซึ่งจุลินทรียเหลานี้มีหนาที่ชวยในการยอยอาหารที่สัตวกินเขาไปและผลิต metabolite ตาง ๆ ที่สัตว สามารถนํ าไปใชประโยชนได

TIP FLASH CLAIM สามารถเคลมอุบัติเหตุ รถยนตไดดวยตัวเอง ไมซับซอน รวดเร็ว