• No results found

บทท 8 การจ ดการแฟ มข อม ล File Management

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "บทท 8 การจ ดการแฟ มข อม ล File Management"

Copied!
24
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

บทที่ 8 การจัดการแฟ้มข้อมูล

File Management

(2)

การจัดการแฟ้มข้อมูล

หน้าที่ส าคัญของระบบปฏิบัติการ คือ การจัดการแฟ้มข้อมูล (File Management) ซึ่งเป็นการช่วยอ านวยความสะดวกแก่ผู้ใช้งานในการเรียกใช้ แฟ้มข้อมูลต่างๆ และท าให้ผู้ใช้มีความเป็นอิสระจากอุปกรณ์ • ผู้ใช้งาน (User) สามารถเรียกใช้ค าสั่งเพื่อด าเนินการต่างๆ กับแฟ้มข้อมูลได้ เช่น สร้างแฟ้มข้อมูล (Create), เปิดแฟ้มข้อมูล (Open) หรือลบ แฟ้มข้อมูล (Delete)

(3)

แฟ้มข้อมูล (File)

แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง สิ่งที่บรรจุข้อมูลต่างๆ ไว้ด้วยกัน โดยมีการจัด โครงสร้าง และแต่ละแฟ้มข้อมูลจะมีลักษณะเฉพาะหรือลักษณะประจ าของ แฟ้มข้อมูล เช่น ชื่อแฟ้มข้อมูล ชนิดของแฟ้มข้อมูล ขนาดของแฟ้มข้อมูล โดย ลักษณะเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ในการป้องกัน การรักษาความปลอดภัย และ การควบคุมการใช้งานแฟ้มข้อมูล • ในการอ้างถึงต าแหน่งที่อยู่ของแฟ้มข้อมูล ผู้ใช้ไม่จ าเป็นต้องอ้างถึงเลขที่อยู่เชิง กายภาย (Physical Address) ที่บรรจุแฟ้มข้อมูลนั้นโดยตรง แต่ สามารถระบุชื่อทางตรรกะของแฟ้มข้อมูล (Logical filename) ซึ่งเป็นชื่อ แฟ้มข้อมูล ส าหรับให้ผู้ใช้เรียกใช้งานได้อย่างสะดวก

(4)

แฟ้มข้อมูล (File)

ระบบปฏิบัติการจะเข้ามาจัดการส่ง (map) จากแฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะไปยัง

แฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ รวมถึงการเรียก system call เพื่อสร้างแฟ้มข้อมูล, ลบแฟ้มข้อมูล, อ่าน/เขียนแฟ้มข้อมูล

(5)

ไดเรกทอรีแฟ้มข้อมูล

ไดเรกทอรี (Directories) เป็นที่เก็บรวบรวมชื่อของแฟ้มข้อมูล และข้อมูลที่ ส าคัญของแฟ้มข้อมูล • โดยมีวัตถุประสงค์ส าคัญคือ เพิ่มประสิทธิภาพการท างานของระบบ และความ สะดวกส าหรับผู้ใช้ ด้วยการช่วยให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงแฟ้มข้อมูลที่ต้องการได้ อย่างรวดเร็วมากขึ้น • รวมถึงช่วยให้ผู้ใช้สะดวกสบายในการใช้แฟ้มข้อมูล ทั้งการตั้งชื่อแฟ้มข้อมูล การ จัดกลุ่มแฟ้มข้อมูลตามความต้องการของผู้ใช้

(6)

ไดเรกทอรีแฟ้มข้อมูล

โดยทั่วไป ไดเรกทอรีประกอบด้วยข้อมูลต่างๆ ดังนี้ o ข้อมูลพื้นฐาน (Basic information) เป็นข้อมูลพื้นฐานทั่วไปของแฟ้มข้อมูล เช่น ชื่อแฟ้มข้อมูล และชนิดของ แฟ้มข้อมูล o ข้อมูลเลขที่อยู่ (Address information) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับเลขที่อยู่ของแฟ้มข้อมูล ได้แก่ ต าแหน่งเริ่มต้นของ หน่วยความจ าส ารองที่เก็บแฟ้มข้อมูลนี้, ขนาดของแฟ้มข้อมูล

(7)

ไดเรกทอรีแฟ้มข้อมูล

o ข้อมูลการควบคุมการเข้าถึง (Access control information)

เป็นข้อมูลที่ระบบใช้ในการควบคุมการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลนั้นๆ เช่น ชื่อ เจ้าของแฟ้มข้อมูล สิทธิในการเข้าถึงแฟ้มข้อมูล o ข้อมูลการใช้งาน (Usage information) เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการใช้งานแฟ้มข้อมูลนั้นๆ เช่น วันที่ใช้งานแฟ้มข้อมูล อาจเป็นวันที่ท าการสร้างแฟ้มข้อมูล วันที่ท าการเข้าถึงแฟ้มข้อมูลล่าสุด วันที่ ท าการแก้ไขแฟ้มข้อมูลล่าสุด วันที่ท าการเรียกใช้งานแฟ้มข้อมูลล่าสุด

(8)

ไดเรกทอรีแฟ้มข้อมูล

ตัวอย่างการน าไดเรกทอรีไปใช้ในการด าเนินการกับแฟ้มข้อมูล o การค้นหาแฟ้มข้อมูล (search) เมื่อผู้ใช้หรือโปรแกรมเรียกใช้แฟ้มข้อมูลใด ระบบต้องค้นหาแฟ้มข้อมูลนั้นจากไดเรกทอรี o การสร้างแฟ้มข้อมูล (create file) เมื่อมีการสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ ระบบต้อง บันทึกลักษณะประจ าและข้อมูลต่างๆ ของแฟ้มข้อมูลนั้น เพิ่มเข้าไปในไดเรกทอรี o การลบแฟ้มข้อมูล (delete file) เมื่อมีการลบแฟ้มข้อมูล รายการของ แฟ้มข้อมูลจะต้องถูกลบออกจากไดเรกทอรี และเมื่อมีการค้นหาก็จะไม่พบ แฟ้มข้อมูลนี้อีกต่อไป o การเปลี่ยนแปลงแฟ้มข้อมูล (update file) เมื่อต้องการเปลี่ยนแปลงลักษณะ ประจ าต่างๆ ของแฟ้มข้อมูล สามารถท าได้โดยการเปลี่ยนแปลงรายการใน ไดเรกทอรี

(9)

ตัวอย่างโครงสร้างของไดเรกทอรี

ตัวอย่างโครงสร้างของไดเรกทอรี

oไดเรกทอรีระดับเดียว (Single-level directory) oไดเรกทอรีสองระดับ (Two-level directory)

(10)

ไดเรกทอรีระดับเดียว

ไดเรกทอรีระดับเดียว (Single-level directory) เป็นไดเรกทอรีที่มี โครงสร้างง่ายที่สุด โดยแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มจะถูกรวบรวมไว้ในระดับเดียวกัน ทั้งหมด • ท าให้ไม่สะดวกส าหรับระบบที่มีผู้ใช้หลายคน เนื่องจากผู้ใช้แต่ละคนมีแฟ้มข้อมูล จ านวนมาก และเป็นแฟ้มข้อมูลหลากหลายชนิด เมื่อน ามาเก็บรวมกันไว้ใน ระดับเดียวกัน ท าให้ไม่สะดวกในการค้นหาแฟ้มข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการ • อาจเกิดปัญหาในการสร้างแฟ้มข้อมูลมีชื่อเดียวกับแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่แล้ว เป็นผล ให้เกิดการเขียนทับแฟ้มข้อมูลเดิม ท าให้ข้อมูลเดิมเกิดสูญหายได้

(11)
(12)

ไดเรกทอรีสองระดับ

ไดเรกทอรีสองระดับ (Two-level directory) เป็นโครงสร้างไดเรกทอรีที่ แก้ไขปัญหากรณีชื่อแฟ้มข้อมูลตรงกันของไดเรกทอรีระดับเดียว • โดยจะก าหนดให้ผู้ใช้แต่ละคน สามารถสร้างไดเรกทอรีย่อยของตนเอง (sub directory) โดยที่แต่ละไดเรกทอรีย่อยอยู่ภายใต้ไดเรกทอรีราก (root directory) เดียวกัน ดังนั้นภายในไดเรกทอรีย่อยของผู้ใช้แต่ละคน สามารถ ก าหนดชื่อแฟ้มข้อมูลได้ตามความต้องการ • อาจเกิดปัญหาในกรณีที่ผู้ใช้มีแฟ้มข้อมูลหลายประเภท เช่น แฟ้มข้อมูลงานวิจัย (research.doc) แฟ้มข้อมูลคะแนน (score.xls) แฟ้มข้อมูลการสอน (lecture.ppt) การใช้ไดเรกทอรีสองระดับ ท าให้แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้ม ต้องถูก จัดเก็บในระดับเดียวกัน

(13)
(14)

ไดเรกทอรีแบบต้นไม้

โครงสร้างไดเรกทอรีสองระดับ แม้จะแก้ปัญหาความซ้ าซ้อนของชื่อแฟ้มข้อมูลใน ระบบที่มีผู้ใช้หลายคนได้แล้ว แต่ยังเกิดปัญหาในกรณีที่ผู้ใช้แต่ละคนมี แฟ้มข้อมูลจ านวนมาก • ไดเรกทอรีแบบต้นไม้ (Tree-structured directory) เป็นการจัด โครงสร้างของไดเรกทอรี โดยก าหนดให้ผู้ใช้แต่ละคนสามารถแยกกลุ่มของ แฟ้มข้อมูลตามงานที่ท า หรือตามความต้องการ • โดยท าการรวบรวมแฟ้มข้อมูลแต่ละกลุ่มไว้ภายใต้ไดเรกทอรีที่แยกจากกัน คือ ให้มีไดเรกทอรีย่อยภายใต้ไดเรกทอรีแฟ้มข้อมูลของผู้ใช้แต่ละคนได้ • ในการอ้างถึงแฟ้มข้อมูล จ าเป็นต้องระบุที่อยู่ของแฟ้มข้อมูลนั้นๆ ให้ถูกต้อง

(15)
(16)

การจัดระเบียบและการเข้าถึงแฟ้มข้อมูล

การจัดระเบียบแฟ้มข้อมูล (File Organization) หมายถึง การจัด โครงสร้างทางตรรกะของแฟ้มข้อมูล ที่ได้มีการรวบรวมระเบียนหรือเรคคอร์ดไว้ ในแฟ้มข้อมูล • เมื่อผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลเหล่านั้น ผู้ใช้ต้องเข้าถึงแฟ้มข้อมูลในรูปแบบที่ สอดคล้องกับการจัดระเบียบแฟ้มข้อมูลนั้นๆ โดยรูปแบบการเข้าถึงแฟ้มข้อมูล o การเข้าถึงแบบล าดับ (Sequential access) ซึ่งต้องมีการอ่านข้อมูลตั้งแต่ต้น ระเบียนแรกของแฟ้มข้อมูลจนกระทั่งถึงระเบียนข้อมูลที่ต้องการ o การเข้าถึงโดยตรง (direct access) ที่มีการเข้าถึงเลขที่อยู่ระเบียนที่ต้องการ โดยตรง o การเข้าถึงแบบสุ่ม (random access) ที่มีการใช้วิธีการต่างๆ ในการหาต าแหน่ง ของระเบียนที่ต้องการ

(17)

โครงสร้างระบบแฟ้มข้อมูล

แฟ้มข้อมูลต้องถูกจัดเก็บลงบนสื่อบันทึกข้อมูล สื่อที่นิยมใช้ คือ ดิสก์ (disk) ในการออกแบบระบบแฟ้มข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ และอ านวยความสะดวกให้แก่ ผู้ใช้ ระบบปฏิบัติการจ าเป็นต้องก าหนดให้ระบบแฟ้มข้อมูลสามารถจัดเก็บและ เรียกใช้ข้อมูลต่างๆ ได้ง่าย • โดยแบ่งโครงสร้างการท างานของระบบแฟ้มข้อมูลออกเป็น 4 ระดับ แต่ละ ระดับถูกออกแบบให้ใช้คุณสมบัติของระดับที่อยู่ต่ ากว่าในการสร้างคุณลักษณะ ใหม่ เพื่อให้ระดับที่อยู่สูงกว่าน าไปใช้งานต่อไป

(18)

การแบ่งระดับของระบบแฟ้มข้อมูล

Application Program คือ โปรแกรมที่น าไป

ใช้งาน เช่น MS Word, Game

Devices คือ อุปกรณ์ที่เก็บข้อมูล หรือแฟ้ม

(19)

โครงสร้างระบบแฟ้มข้อมูล

I/O Control เป็นระบบแฟ้มข้อมูลระดับล่างสุด ที่ประกอบด้วย โปรแกรม

ขับอุปกรณ์ (device driver) และชุดค าสั่งเรื่องขัดจังหวะ เพื่อท าหน้าที่ ส่งผ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจ าหลักและอุปกรณ์

Basic File System ประกอบด้วยค าสั่งที่สั่งให้โปรแกรมขับอุปกรณ์ท าการ

อ่าน/เขียนข้อมูลบนอุปกรณ์

File-organization Module ท าหน้าที่แปลงเลขที่อยู่เชิงตรรกะของบล็อค

เป็นเลขที่อยู่เชิงกายภาพที่บรรจุข้อมูล และท าหน้าที่จัดการพื้นที่ว่างของ อุปกรณ์

Logical File System มีหน้าที่เชื่อมระบบปฏิบัติการกับผู้ใช้ ป้องกัน

(20)

โครงสร้างระบบแฟ้มข้อมูล

เมื่อผู้ใช้ต้องการเข้าถึงอุปกรณ์ต่างๆ (Devices) ด้วยการเขียนข้อมูลลง อุปกรณ์ หรืออ่านข้อมูลที่ถูกจัดเก็บบนอุปกรณ์ต่างๆ ผู้ใช้สามารถท าได้ด้วย การเรียกใช้โปรแกรมประยุกต์ (Application program) ที่ส่งผ่านความ ต้องการของผู้ใช้ผ่านไปตามระดับชั้นต่างๆ ของระบบแฟ้มข้อมูล เพื่อให้ได้งาน ตามที่ผู้ใช้ต้องการ • เช่น เมื่อโปรแกรมประยุกต์ เช่น โปรแกรมเอดิเตอร์ ต้องการสร้างแฟ้มข้อมูล ใหม่ (create) โปรแกรมประยุกต์จะเข้าไปท างานที่ระดับของ Logical file system ด้วยการอ่านไดเรกทอรีของดิสก์ และน าไปไว้ที่หน่วยความจ า หลัก จากนั้นท าการเปลี่ยนแปลง (update) ไดเรกทอรีด้วยการเพิ่มรายการ ใหม่ที่ประกอบไปด้วย ลักษณะเฉพาะของแฟ้มข้อมูลที่ต้องการสร้าง แล้วจึง บันทึกไดเรกทอรีที่ถูกเปลี่ยนแปลงกลับลงดิสก์

(21)

โครงสร้างระบบแฟ้มข้อมูล

จากนั้นท างานต่อไปที่ระดับของ Logical file system ด้วยการเรียก

File-organization module ที่จะแปลงเลขที่อยู่เชิงตรรกะของดิสก์บล็อค เป็นเลขที่อยู่เชิงกายภาพของดิสก์บล็อค รวมถึงจัดการหาที่ว่างบนดิสก์

ข้อมูลต่างๆ จะถูกส่งต่อไปยังระดับ Basic file system ที่เรียกใช้ค าสั่งที่

จะสั่งให้โปรแกรมขับอุปกรณ์ท าการเขียนข้อมูลลงบนดิสก์บล็อคในระดับ I/O Control system ต่อไป • การท างานระดับ I/O control จะต้องมีการเรียกใช้โปรแกรมขับอุปกรณ์ และโปรแกรมขัดจังหวะ เพื่อให้ระบบสามารถถ่ายโอนข้อมูลระหว่าง หน่วยความจ าหลัก และดิสก์ ด้วยการเขียนข้อมูลที่ต้องการลงบนบล็อคที่มีอยู่ จริงบนดิสก์

(22)

ความเชื่อถือได้ของแฟ้มข้อมูล

ระบบแฟ้มข้อมูลที่ถูกใช้งาน อาจเกิดการสูญหาย หรือเสียหายด้วยสาเหตุต่างๆ อันเนื่องมาจากฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ภัยธรรมชาติ อุบัติเหตุ • ระบบจ าเป็นต้องสร้างความเชื่อถือได้ของแฟ้มข้อมูลด้วยการส ารอง (backup) แฟ้มข้อมูลไว้ในหน่วยความจ าส ารอง เช่น ดิสก์ ซีดีรอม • เมื่อมีความเสียหายเกิดขึ้นกับแฟ้มข้อมูล สามารถน าเอาแฟ้มข้อมูลที่ส ารองไว้มา ใช้งานต่อไปได้ • ดังนั้นถ้าข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย จ าเป็นต้องส ารองแฟ้มข้อมูลบ่อยๆ เช่นกัน เพื่อให้แฟ้มข้อมูลนั้นเป็นปัจจุบันมากที่สุด

(23)

ความเชื่อถือได้ของแฟ้มข้อมูล

ในการส ารองข้อมูลทั้งหมดของระบบอาจต้องใช้เวลานานมาก และใช้พื้นที่ หน่วยความจ าส ารองขนาดใหญ่ ดังนั้นระบบต้องพิจารณาว่า • จะท าการส ารองแฟ้มข้อมูลทั้งหมด หรือส ารองเฉพาะบางส่วนของแฟ้มข้อมูล เท่านั้น หรืออาจพิจารณาให้มีการบีบอัดแฟ้มข้อมูลก่อนที่จะท าการส ารอง • พิจารณาความเหมาะสมของเวลาและความถี่ในการส ารองแฟ้มข้อมูล เนื่องจาก ขณะที่ท าการส ารองแฟ้มข้อมูล ระบบต้องหยุดท างานชั่วขณะ และไม่สามารถ เรียกแฟ้มข้อมูลนั้นได้ • ถ้าส ารองแฟ้มข้อมูลบ่อยเกินไป จะท าให้ระบบเสียเวลาท างาน แต่ถ้าส ารอง แฟ้มข้อมูลเป็นระยะเวลาที่ห่างกันมากเกินไป จะท าให้ข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน

(24)

ประเภทของการส ารองแฟ้มข้อมูล

Physical Dump • เป็นวิธีที่ง่าย หลักการท างานคือ ท าการส ารองแฟ้มข้อมูลทั้งหมดของระบบ โดยท า การส ารองแฟ้มข้อมูลตั้งแต่บล็อคแรกจนถึงบล็อคสุดท้ายของแฟ้มข้อมูล • ข้อเสียคือ ต้องเสียเวลา เนื่องจากต้องส ารองข้อมูลทุกบล็อคของดิสก์ ถึงแม้ว่าบล็อค นั้นๆ จะบรรจุแฟ้มข้อมูลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง หรือบล็อคนั้นไม่มีแฟ้มข้อมูลบรรจุ อยู่ก็ตาม Logical Dump • หลักการท างานคือ ท าการส ารองเฉพาะแฟ้มข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงเท่านั้น ด้วย การพิจารณาจากวันที่และเวลาของแฟ้มข้อมูลที่บันทึกไว้ในไดเรกทอรี • วิธีนี้ช่วยให้ระบบใช้เวลาในการส ารองข้อมูลน้อยลง และลดพื้นที่ของสื่อบันทึกข้อมูล (ดิสก์) ที่ใช้ในการส ารองแฟ้มข้อมูล

References

Related documents

As a result, survey respondents overestimated the performance of camera technology for work tasks that relate to documentation and communication of deliverables,

• Including daily commuters and other visitors from outside Greater London, who account for about an extra 1 million people a day travelling in London, the average rate of travel,

Widely used in plumbing applications where lead-bearing solders are prohibited. Contains nickel, making joints tremendously strong. Wide plastic range makes Bridgit ® an

Many of the post-graduate programs students enroll in for training for the Chartered Accounting (CA) designation do not require an ethics course as a prerequisite. In order to

The Paper analyses the literature and evidence base on the role of accounting practices, and in particular small and medium practices (SMPs) in providing business support to small-

If you enroll in a Medicare prescription drug plan, you and your eligible dependents will be eligible to receive all of your current health and prescription drug benefits and

 Exemplary: I feel completely confident in my ability to follow procedures for communication, including those specific to the virtual format (e.g. muting myself when not