• No results found

คณ ตา ราษฎร น ย หล กเกณฑ การบร หารก จการบ านเม องท ด ขององค กรปกครองส วนท องถ น ผ อ านวยการส วนส งเสร มการบร หาร ก จการบ านเม องท ด

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "คณ ตา ราษฎร น ย หล กเกณฑ การบร หารก จการบ านเม องท ด ขององค กรปกครองส วนท องถ น ผ อ านวยการส วนส งเสร มการบร หาร ก จการบ านเม องท ด"

Copied!
42
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

หลักเกณฑ์การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

คณิตา ราษฎร์นุ้ย

ผู้อํานวยการส่วนส่งเสริมการบริหาร

กิจการบ้านเมืองที่ดี

โทร. 0-2241-9000 ต่อ 2331

มือถือ 08-1634-7883, 08-1859-7484

(2)

ความเป็นมาของธรรมาภิบาลในสังคมไทย

เกิดขึ้นหลังจากมีปัญหาวิกฤติ

เศรษฐกิจและการเงินในปี พ.ศ. 2540

- รัฐบาลในขณะนั้นได้ขอความร่วมมือให้สถาบันวิจัย เพื่อการพัฒนาประเทศ (TDRI) ดําเนินการค้นคว้าวิจัยเพื่อ เสนอแนะแนวทางแก้ปัญหา

- สถาบันTDRI ได้เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาต่อ นายกรัฐมนตรีและ คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2542 ให้เร่งรัดสร้างธรรมาภิบาล ในหน่วยงาน ของรัฐ เพื่อเป็นแกนนําในการพัฒนาและส่งเสริม

ธรรมาภิบาล

ให้สังคมไทย 
(3)

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

(Good Governance)

การนิยามคําว่า Good Governance

“การบริหารการปกครองที่ดี”

“ธรรมาภิบาล” (***ติดตลาด)

“ธรรมรัฐแห่งชาติ”

“สุประศาสนการ”

ราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า “การปกครองที่ดี”

การบริหารจัดการที่ดี

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

(4)

การนิยามคําว่า Good Governance (ต่อ)

“การปกครองที่ดี” หมายถึง การบริหารงานโดย

ประชารัฐ

ที่มีการส่งเสริมให้มีการเชื่อมโยงเป็น

พหุภาคี

และประสานการสนับสนุนซึ่งกันและ

กัน ระหว่างองค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และ

ประชาชนในการจัดสรรและบริหารทรัพยากร

เพื่อ

ตอบสนองความต้องการ

ของประชาชน

ด้วยการ

มีส่วนร่วม

ของประชาชน และความ

รับผิดชอบของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ที่

มี ต่ อ ป ร ะ ช า ช น ไ ด้ อ ย่ า ง มี

ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ

ประสิทธิผล โปร่งใส เสมอภาค

และ

เป็นธรรม

(5)

หลักสําคัญของธรรมาภิบาล

1. หลักนิติธรรม (Rule of Iaw)

2. หลักคุณธรรม (Ethic)

5. หลักความรับผิดชอบ

(Accountability)

4. หลักการมีส่วนร่วม

(Public Participation)

3. หลักความโปร่งใส

(Transparency)

(6)

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 • ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบ บริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542

ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

(7)

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

(Good Governance)

• ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบ บริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542 มติ ครม. เห็นชอบ เมื่อ 11 พ.ค. 2542 กับวาระ แห่งชาติสําหรับการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี กําหนดระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่า ด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ ดี พ.ศ. 2542 บังคับใช้ 11 ส.ค. 2542 (ต่อมามีประกาศ ระเบียบสํานักนายกฯ ลงวันที่ 9 ส.ค. 2547 ยกเลิก ระเบียบฯ ฉบับนี้)
(8)

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

(Good Governance)

พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 การบริหารราชการตาม พ.ร.บ. นี้ต้องเป็นไปเพื่อ ประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจ ภาครัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจ แห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจ และยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จําเป็น การกระจายภารกิจ และทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอํานาจ ตัดสินใจ การอํานวยความสะดวก และการตอบสนอง ความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ต้องรับผิดชอบต่อ ผลงาน
(9)

พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 (ต่อ) การจัดสรรงบประมาณ บรรจุแต่งตั้งบุคคลดํารง ตําแหน่ง ต้องคํานึงหลักการตามวรรคหนึ่ง การ ปฏิบัติราชการต้องใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมือง ที่ดี โดยเฉพาะคํานึงถึง ความรับผิดชอบของ ผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การ เปิดเผยข้อมูล การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล การปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ตามความเหมาะสมของแต่ละ ภารกิจ เพื่อประโยชน์ในการดําเนินการให้เป็นไป ตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกากําหนด หลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติ

(10)

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ

บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

ประโยชน์ที่ได้รับ  รัฐกําหนดนโยบายและเป้าหมายการดําเนินงาน ชัดเจน  ส่วนราชการ/ข้าราชการมีแนวทางการปฏิบัติเป็น มาตรฐานชัดเจน โปร่งใส วัดผลการดําเนินงานได้  ประชาชนได้รับบริการที่สะดวก รวดเร็ว ตรวจสอบ การดําเนินงานได้ มีส่วนร่วมในการบริหารงาน
(11)

พ.ร.บ. จัดตั้ง

 พ.ร.บ. อบจ. (ฉ.3) พ.ศ. 2546 มาตรา 54/1  พ.ร.บ. เทศบาล (ฉ.12) พ.ศ. 2546 มาตรา 50 วรรคสอง  พ.ร.บ. สภาตําบล และ อบต.(ฉ.5)พ.ศ.2546 มาตรา 69/1 ...การปฏิบัติงานตามหน้าที่ของ... ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ ประชาชน โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การจัดทํา งบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการ ปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ ให้เป็นไปตาม กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการนั้น ตามหลักเกณฑ์และ วิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกําหนด...
(12)

พ.ร.ฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร

กิจการบ้านเมืองที่ดีพ.ศ. 2546

มาตรา 52

ให้ อปท. ประยุกต์ใช้อย่างน้อยเรื่อง คือ

ก า ร ล ด ขั้ น ต อ น อํ า น ว ย ค ว า ม ส ะ ด ว ก

และตอบสนองความต้องการของประชาชน

เป็นหน้าที่ของกระทรวงมหาดไทยดูแลและ

ให้ความช่วยเหลือแก่ อปท.

(13)

• มท. ร่วมกับ สปน. ก.พ.ร. จัดทําเกณฑ์ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีของ อปท. ใ ช้ เ ป็ น แ น ว ท า ง ป ฏิ บั ติ ต า ม น ส . กระทรวงมหาดไทย ที่ 0892.4/ว 2929 ลว. 31 ส.ค. 2550 เป็นต้นมา • นอกจากการดําเนินการในหมวด 5 และ หมวด 7 สถ. ได้ส่งเสริมให้ อปท.ปฏิบัติตาม ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ค ร บ ทั้ ง 7 ห ม ว ด ร ว ม ทั้ ง มี การประเมินการปฏิบัติราชการของ อปท.ด้าน บริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง

การจัดทําหลักเกณฑ์การบริหาร

กิจการบ้านเมืองที่ดีของ อปท.

(14)

การบริหาร กิจการ บ้านเมืองที่ดี 7 เป้าหมาย

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

7.ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่ําเสมอ 1.เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน 2.ผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ 3.มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ 4.ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจําเป็น 5.ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์ 6.ประชาชนได้รับ ความสะดวก ตอบสนองความต้องการ
(15)

1.การบริหารภารกิจเพื่อให้เกิด

ประโยชน์สุขแก่ประชาชน

(=โปร่งใส นิติธรรม มีส่วนร่วม)

แนวทางปฏิบัติตามหลักเกณฑ์

1. การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร

2. การจัดวาง/ติดตามระบบควบคุมภายใน

3. เปิดเผยข้อมูลงบประมาณ/จัดซื้อจัดจ้าง

4. มีการศึกษาวิเคราะห์ก่อนดําเนินการ

5. รับฟังความคิดเห็นและชี้แจงประชาชน

(16)

แนวทางปฏิบัติตามหลักเกณฑ์

1. การจัดทําแผนพัฒนา(แผนยุทธศาสตร์ฯ และแผนพัฒนา สามปี)โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน สนับสนุน การขับเคลื่อนแผนชุมชนแผนท้องถิ่นประสาน/บูรณาการ 2. ติดตามประเมินผลเพื่อนํามาทบทวน/ปรับปรุงแผนพัฒนา 3. นําแผนพัฒนาสามปีมาเป็นกรอบในการจัดทํางบประมาณฯ 4. จัดทําข้อตกลงในการปฏิบัติราชการ 5. บูรณาการภารกิจระหว่าง อปท.และหน่วยงานอื่น 6. ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ในหน่วยงาน

2. การบริหารงานเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์

ต่อภารกิจของ อปท.

(=นิติธรรม มีส่วนร่วม คุ้มค่า)

(17)

วิสัยทัศน์

พันธกิจ

จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาที่ยังยืน ยุทธศาสตร์การพัฒนา โครงการ กิจกรรม กิจกรรม โครงการ

ความเชื่อมโยงของแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาและแผนพัฒนาสามปี

กิจกรรม แนวทางการพัฒนา โครงการ กิจกรรม กิจกรรม แนวทางการพัฒนา แนวทางการพัฒนา กิจกรรม
(18)

ยุทธศาสตร์/ แนวทางการพัฒนา ปี ... ปี ... ปี ... รวม 3 ปี จ านวน โครงการ งบประมาณ (บาท) จ านวน โครงการ งบประมาณ (บาท) จ านวน โครงการ งบประมาณ (บาท) จ านวน โครงการ งบประมาณ (บาท) ล าดับ ที่ โครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (ผลผลิตของ โครงการฯ) งบประมาณและที่มา ผลลัพธ์ที่คาด ว่าจะได้รับ หน่วยงาน รับผิดชอบ ปี .... (บาท) ปี .... (บาท) ปี .... (บาท)

ส่วนที่ 5 บัญชีโครงการพัฒนา

5.2 รายละเอียดโครงการและกิจกรรม

5.1 บัญชีสรุปโครงการ/กิจกรรมการพัฒนา

(19)

ส่วนที่ 2 บัญชีโครงการ/กิจกรรม

2.1 บัญชีสรุปจํานวนโครงการและงบประมาณ

ยุทธศาสตร์/แนว ทางการพัฒนา จ านวนโครงการ ที่ด าเนินงาน คิดเป็นร้อยละของ โครงการทั้งหมด จ านวน งบประมาณ คิดเป็นร้อยละของ งบประมาณทั้งหมด หน่วย ด าเนินการ 1. ยุทธศาสตร์... 1.1 แนวทาง... 1.2 แนวทาง... รวม

เค้าโครงแผนการดําเนินงาน

(20)

3.การบริหารภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพและ

เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจ

(= นิติธรรม คุ้มค่า โปร่งใส)

แนวทางปฎิบัติตามหลักเกณฑ์

1. จัดทําแผนการดําเนินงาน กําหนดเป้าหมาย ระยะเวลา งบประมาณที่ได้ใช้อย่างประหยัด มีประสิทธิภาพ และเผยแพร่ โดยทั่วไป 2. จัดซื้อ/จัดจ้างอย่างเปิดเผย คุ้มค่า เที่ยงธรรม 3. แจ้งผลการอนุมัติ/อนุญาตที่ส่วนราชการร้องขอภายใน15 วัน หรือตามประกาศกําหนดระยะเวลาของ อปท. 4. ต้องพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาต่างๆ โดยเร็ว 5. การสั่งราชการต้องถูกต้องตามระเบียบแบบแผนของทาง ราชการ
(21)

แนวทางปฏิบัติ

1. กระจายอํานาจ

มอบอํานาจการตัดสินใจ

2. ควบคุม ติดตาม กํากับ ดูแลการใช้อํานาจ

3. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือโทรคมนาคมตาม

ความเหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ลดขั้นตอน

บริการ

4. จัดทําแผนภูมิขั้นตอนและระยะเวลาดําเนินการ

และประชาสัมพันธ์ เปิดเผย

5. บริการเชิงรุก จัดตั้ง/สนับสนุนศูนย์บริการร่วม

4. การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน

(=คุ้มค่า โปร่งใส นิติธรรม)

(22)

แนวทางปฏิบัติตามหลักเกณฑ์

1. ทบทวนปรับปรุงบทบาท/ภารกิจ

และอัตรากําลัง

2. ทบทวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อ

ปรับปรุง แก้ไข ยกเลิก

5. การปรับปรุงภารกิจของ อปท.

(= นิติธรรม คุ้มค่า รับผิดชอบ)

(23)

แนวทางปฎิบัติตามหลักเกณฑ์

1. กําหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานบริการสาธารณะ ทุกงาน ประกาศให้ประชาชนทราบ 2. กระบวนการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน แจ้งผลการ ดําเนินการภายใน 15 วัน หรือตามระยะเวลาที่กําหนด 3. จัดให้มีช่องทางสื่อสารที่หลากหลายในการร้องทุกข์ ร้องเรียน แสดงความคิดเห็น 6.การอํานวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการของประชาชน (= นิติธรรม โปร่งใส มีส่วนร่วม รับผิดชอบ)
(24)

ข้อคิดธรรมาภิบาลกับการทํางาน

“บริการ” คือ งานของเรา

Service Mind

ใครคือคนสําคัญที่สุด?

อะไรคืองานที่สําคัญที่สุด?

เวลาใดคือเวลาที่สําคัญ

ที่สุด?

(25)

1. จัดให้มีบุคคลภายนอกร่วมประเมินผลการปฏิบัติติ

ราชการ อปท. ใน 4 มิติ

- ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ

- คุณภาพการให้บริการ

- ความคุ้มค่า

- ความพึงพอใจของประชาชน

2. การประเมินบุคคล

3. พิจารณาใช้งบประมาณเหลือจ่ายเงินเป็นรางวัล

ให้แก่ขรก. พนง.ท้องถิ่น ตามหลักเกณฑ์ที่ ก.กําหนด

7.การประเมินผลการปฏิบัติงาน

แนวทางปฏิบัติตามหลักเกณฑ์

(26)

สรุปบริบทของการบริหารจัดการของ อปท.

ในปัจจุบัน

1. เน้นเป้าหมาย(OUTCOME) มากกว่ากระบวนการ (PROCESS) มุ่งผลสัมฤทธิ์ภาครัฐ เน้นความรับผิดชอบ ต่อเป้าหมายและผลงาน จากเดิมที่เน้นรับผิดชอบ กระบวนการ กฎระเบียบ 2. ประยุกต์ความรู้/ความชํานาญในการบริหารจัดการ เพื่อนําบริการของรัฐไปสู่ประชาชนโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ 3. กระจายอํานาจ/ความรับผิดชอบ ลดขั้นตอน ถ่ายโอนอํานาจการบริหาร+ตัดสินใจสู่ระดับ ล่าง จัดระบบรายงานผลงาน ติดตาม ตรวจสอบ ความ รับผิดชอบ
(27)

สรุป

บริบทของการบริหารจัดการของ อปท.

ในปัจจุบัน

(ต่อ)

4. จิ๋วแต่แจ๋ว (Small is beautiful)

สลายราชการขนาดใหญ่ให้เล็กที่สุดเท่าที่จะทํา

ได้เกิดรูปแบบบริหารงานนอกภาคราชการ

5. จ้างงานแทนทําเอง (Outsource)

เน้นความเป็นเจ้าของในระดับล่าง เกิดการแข่งขัน

เช่น เก็บขยะ ดูแลความสะอาด ความปลอดภัย

6. นําหลักบริหาร/วิธีการของเอกชนมาประยุกต์ใช้

ลูกค้า=ผู้รับบริการ=“ประชาชน”

คือ คนสําคัญมุ่ง

ความพึงพอใจของผู้รับบริการ หา Best Practice

(28)

สรุปบริบทของการบริหารจัดการของ อปท.ใน

ปัจจุบัน(ต่อ)

7. ระบบสัญญา เชื่อมโยงผลงานกับค่าตอบแทน+รางวัล มีเป้าหมายชัดเจน ลงแผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติงาน จัดทําข้อตกลงการปฏิบัติราชการ 8. ใช้เงินรางวัลจูงใจ (Performance Pay) ระบบประเมินผลงาน แบ่งเงินเป็น 2 ก้อน 1.base pay 2.performace หรือประยุกต์เป็นสิ่งอื่น เช่น สวัสดิการ ตําแหน่งสูงขึ้น 9. ลดค่าใช้จ่าย เพิ่มประสิทธิภาพ สอดคล้องกับลดขนาด ทบทวนภารกิจ
(29)

สรุปบริบทของการบริหารจัดการของ อปท.ในปัจจุบัน(ต่อ) 10. ใช้หลักธรรมาภิบาลหรือการบริหารกิจการบ้านเมือง

ที่ดีเป็นแนวทางปฏิบัติเน้นเป็นธรรม โปร่งใส มีส่วน

ร่วมเน้นประโยชน์สุขของประชาชน มุ่งเน้นผู้รับบริการ (Customer/Citizen Oriented)

(30)

1. ลักษณะวัฒนธรรมทางสังคมที่ไม่เอื้อต่อหลักการ

ประชาธิปไตย ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน

(ปชต.โดยตัวแทน=การปกครองโดยคนส่วนน้อย ภายใต้การควบคุมของคนส่วนใหญ่)

2. ระบบอุปถัมภ์

3. จิตสํานึกเพื่อสังคม

ปัจจัยที่เป็นข้อจํากัดในการสร้างธรรมาภิบาลหรือ

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

(31)

แนวทางแก้ไข

1. ศึกษาและทําความเข้าใจ

ให้ชัดเจน

2. สร้าง/ฟื้นฟูจิตสํานึกเพื่อสังคม

3. ลงมือปฏิบัติ

เริ่มจากตนเอง



สร้างเครือข่าย



(32)

ความคาดหวังของประชาชน

1. กล้ายืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง

2. มีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

3. มีความโปร่งใสและตรวจสอบได้

4. ไม่เลือกปฏิบัติ

5. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน

(33)

บทบาทของผู้บริหาร อปท.

1. ปฏิบัติตามบทบัญญัติของกฎหมาย

2. ยึดถือความสุจริตและเที่ยงธรรม

3. ทํางานอย่างชัดเจนและโปร่งใส

4. รับผิดชอบต่องานที่ทํา

5. ให้ประชาชนมีส่วนร่วม

6. เอื้ออํานวยต่อการตรวจสอบ

(34)

ข้อคิดธรรมาภิบาลกับการทํางาน

ความเป็น

ทีม

เคยร่วมงาน ..ปัจจุบันขัดแย้ง

คุย

...

ฟื้นฟูความสัมพันธ์

“ให้”

ทํา

ให้อีกฝ่ายมีความสุข

“ให้ใจ” แผ่เมตตา

ทําดี ไม่ได้ดี ... ถูกที่ เวลา

ความถนัด

เพื่อนทําผิด ...

เตือน

/

ยืมมือคนอื่นเตือน

ลดภาวะทิฐิ

... (ตัวเรา-ของเรา)

(35)

ธรรมะกับการทํางาน

Little Buddha

=

ตั้งปณิธานแล้วทําให้

สําเร็จ

เณรน้อยเจ้าปัญญา

=

ศึกษาให้ดี ลึกซึ้งที่สุด

พระปางลีลา

=

แสวงหาโอกาส

มังกรในกรอบแก้ว

=

จง

ใช้ความสามารถเต็มที่

ทหารของจิ๋นซีฮ่องเต้

=

รินหัวใจใส่งาน

“ทํางานมั่ว” ถือเป็นความชั่วของชีวิต

(36)

ธรรมะกับการทํางาน

พระปางไสยาสน์

=

พักผ่อน ดูแลสุขภาพ

หัวโขน

=

ไม่ยึดติด ไม่ทุกข์

มือของผู้

ให้

=

เป็นที่รักของผู้รับ เบิกบานใจ

ท่านพุทธทาสกับข้อธรรม

=ปล่อยวางทรัพย์

ชื่อเสียง เกียรติยศ

พระพุทธรูปปางสมาธิ

=

สมาธิ สงบ ดูจิต

มือเดียว คําเดียว

=

พอเร็ว สุขเร็ว ไม่ประมาท

(37)

การนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เพื่อ

นําไปสู่การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

นําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้กับ อปท. ได้แก่ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข โดยเฉพาะเรื่องการใช้จ่ายงบประมาณของ อปท. ดังนี้  3 ห่วง ได้แก่ 1. พอประมาณ : ไม่ตั้งหรือใช้จ่ายงบประมาณเกินตัวหรือ เกินสมควรแก่ฐานะการคลัง 2. มีเหตุผล : วางแผนและใช้งบประมาณตามอํานาจ หน้าที่ ภารกิจของ อปท. ตามแผนพัฒนาทําไว้ หรือเพื่อ ประโยชน์สุขของประชาชนตาม พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีการบริหารกิจการบ้านเมือง ที่ดี ที่คํานึงถึงประโยชน์สุข ประชาชนเป็นหลัก หากจะต้องใช้จ่ายเร่งด่วนควรเป็นเรื่อง จําเป็น เช่น เกิดสาธารณภัย งานนโยบายสําคัญของรัฐ เป็นต้น 3. สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว : สามารถพัฒนาการจัดเก็บ รายได้ การรักษาสถานะการเงินการคลัง พิจารณาการจัดทํา ภารกิจต่าง ๆ ที่คุ้มค่า การวางระบบควบคุมภายใน
(38)

 2 เงื่อนไข ได้แก่ 1.) ความรู้ : อปท. ต้องมีทั้ง รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวังในการปฏิบัติงาน ใผ่หาความรู้และปฏิบัติตาม ระเบียบกฎหมาย ปฏิบัติงานอย่างรอบคอบ ระมัดระวัง การปฏิบัติงานและการใช้จ่ายเงินอยู่เสมอ 2.) คุณธรรม : ทั้งผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานใน อปท. ต้องมีหลักคุณธรรมในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะเป็น เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ ให้ประพฤติปฏิบัติชอบ ห่างไกล จากการทุจริตคอร์รัปชั่น

การนําแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เพื่อ

นําไปสู่การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

(39)

นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่

การบริหารและ

พัฒนาชุมชนท้องถิ่น

ได้แก่ ให้ อปท. นําหลักปรัชญาของ

เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เ ป็ น แ น ว ท า ง

การวางแผนพัฒนาท้องถิ่น และ ส่งเสริม

สนับสนุนการพัฒนาหมู่บ้าน ชุมชน และ

การดํารงชีวิตของครัวเรือนตามแนวทาง

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่

(40)

“ผู้บริหารท้องถิ่น

ต้องทั้งดีและเก่ง”

(41)

ได้เป็นอะไร...

ไม่ส าคัญเท่ากับ

(42)

คณิตา ราษฎร์นุ้ย

ผู้อํานวยการส่วนส่งเสริม

การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

โทร. 0-2241-9000 ต่อ 2331

มือถือ 08-1634-7883, 08-1859-7484

Kanita_bam@yahoo.com

References

Related documents

The Gold medal should be awarded to the candidate who has passed MA (Journalism) in the first attempt in first class and has secured the highest marks in

 Digital camcorder that plays the format you have  Cables that connect camcorder to computer*  Computer with video editing software OR..  FOR VHS tapes, use a Combo

In addition to deciding how to schedule appointment requests from patients who call in advance, primary care clinics also need to decide how to respond to walk-ins, and any

The ultimate foreign parent company is jointly liable with all group companies for the tax share of the joint taxable income relating to the foreign entities, but not for the tax

In this concept, analysis and development for engineering object parameters and relationships in the current industrial product models are supported by human intent,

–  President, Bolton Research Corporation; A media consulting firm. –  Advised and negotiated with over 250 major media/marketing

Vermont requires drug, device and biologics manufacturers to annually report a number of marketing expenses, including gifts to healthcare professionals greater than $25 in

Consulting arrangements Decision- making/review process Plan Legitimate business need Employer notification Principle of separation Meetings with consultants: