• No results found

นว ตกรรม 1. แผนการจ ดก จกรรมการเร ยนร ว ชาคอมพ วเตอร จ านวน 5 แผน 2. ส อประกอบการฝ ก ประกอบด วย ใบความร และใบงาน 3. หน งส อคอมพ วเตอร (ค ม อคร )

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "นว ตกรรม 1. แผนการจ ดก จกรรมการเร ยนร ว ชาคอมพ วเตอร จ านวน 5 แผน 2. ส อประกอบการฝ ก ประกอบด วย ใบความร และใบงาน 3. หน งส อคอมพ วเตอร (ค ม อคร )"

Copied!
6
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

เรื่อง การพัฒนาการเรียนวิชาคอมพิวเตอร (โปรแกรม Excel) เรื่องการคํานวณและการใชสูตรของ นักเรียนชั้นป.6/6 โดยใชสื่อประกอบการฝก ความเปนมาและความสําคัญ จากมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของมูลนิธิคณะเซนตคาเบรียลแหงประเทศไทย พ.ศ. 2546 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2) มาตรฐานที่ 5 ผูเรียนมีความรูและทักษะที่จะเปนตามหลักสูตร ตัวบงชี้ที่ 1 มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุมประสบการณ / กลุมวิชา / หมวดวิชาที่สําคัญไมต่ํากวาเกณฑมาตรฐานขั้น ตอ (คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศาสตร คอมพิวเตอร และวิชาเฉพาะ สาขาสําหรับอาชีวศึกษา) ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผานมา พบวา นักเรียนจํานวนมากยังขาดความเขาใจเนื้อ หา เปนผลทําใหไมสามารถใชคําสั่งการคํานวณพื้นฐาน และฟงกชันการคํานวณอยางงายได ซึ่งครูผู สอนไดทดลองเปลี่ยนแนวการสอนจากการสอนแบบกลุมใหญมาเปนกลุมยอยประมาณ 4 – 5 คน การ อธิบายประกอบการปฏิบัติและใหฝกปฏิบัติตาม แลวก็ตาม นักเรียนจะสามารถจําไดในระยะสั้น ๆ เทา นั้น ดังนั้นเพื่อเปนการหาแนวทางและการแกปญหา โดยเนนหลักการเรียนรูเชิงฝกปฏิบัติซ้ําๆ และบอยๆ ครูจึงทําการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนวิชาคอมพิวเตอรของนักเรียนนี้ขึ้น นวัตกรรม 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิชาคอมพิวเตอร จํานวน 5 แผน 2. สื่อประกอบการฝก ประกอบดวย ใบความรูและใบงาน 3. หนังสือคอมพิวเตอร (คูมือครู) วัตถุประสงคการวิจัย 1. เพื่อใหนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6/6 สามารถใชคําสั่งคํานวณและการใชสูตรไดอยาง ถูกตองตามขั้นตอน 2. เพื่อใหนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6/6 มีความสามารทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร เรื่องการคํานวณและการใชสูตรที่ดีขึ้น ลักษณะ / สวนประกอบของนวัตกรรม ลักษณะของนวัตกรรมที่สรางขึ้นเปนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิชาคอมพิวเตอรและสื่อ ประกอบการฝกปฏิบัติการคํานวณและการใชสูตร ซึ่งแตละประเภทมีสวนประกอบสําคัญ ดังนี้ 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูวิชาคอมพิวเตอร ประกอบดวย

(2)

- เนื้อหาสําคัญ - จุดประสงคการเรียนรู - กิจกรรม/กระบวนการ - ผังการวิเคราะหสาระการเรียนรู - ผังการวิเคราะหประเด็นการเรียนรู - ผังการวางแผนการจัดกิจกรรม (แบบบูรณาการ) - สาระสําคัญของความรู - ผังการวางแผนการจัดกิจกรรม (ตามขั้นตอน) และรายละเอียดกิจกรรม - บันทึกหลังสอน (ผลการสอน ปญหา/อุปสรรค และแนวทางแกไข) 2. สื่อประกอบการฝก ประกอบดวย ใบความรูและใบงาน หลักการ / แนวคิด 1. การเรียนรูจากงายไปหายากหรือฝกจากสวนยอยไปหาสวนรวม 2. ยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง โดยใชกระบวนการกลุมในการฝก วิธีดําเนินการวิจัย 1. ประชากร ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6/6 ปการศึกษา 2547 จํานวน 38 คน 2. ตัวแปรที่ศึกษา - ตัวแปรตน ไดแก สื่อประกอบการฝก - ตัวแปรตาม ไดแก การพัฒนาการเรียนวิชาคอมพิวเตอร (โปรแกรม Excel) เรื่องการคํานวณและการใชสูตร 3. วิธีการนําไปใช ใชนวัตกรรมในการฝก 1 ภาคเรียน โดยมีการทดสอบทักษะดังนี้ 3.1 ทดสอบวัดความสามารถกอนการฝก 1 ครั้ง 3.2 ทดสอบวัดความสามารถหลังการฝก 1 ครั้ง 4. การเก็บรวบรวมขอมูล 4.1 ขอมูลที่เก็บ ไดแก ผลงานของนักเรียน 4.2 วิธีการเก็บ ใชวิธีการตรวจผลงานและบันทึก 4.3 เครื่องมือที่ใช แบบบันทึกผลงานของนักเรียน

(3)

5. วิธีการวิเคราะหขอมูล 5.1 วิเคราะหคะแนนความสามารถในการเรียนวิชาคอมพิวเตอรเรื่องการคํานวณและ การใชสูตรดวยคาสถิติพื้นฐาน ไดแก คาเฉลี่ย ( X ) 5.2 เปรียบเทียบคะแนนความแตกตางระหวางกอนและหลังการจัดกิจกรรมตามสื่อ ประกอบการฝก ผลการวิเคราะหขอมูล 1. คะแนนเฉลี่ยความกาวหนาในการเรียนวิชาคอมพิวเตอรเรื่องการคํานวณและการใชสูตรของนักเรียน ตารางที่ 1 คาสถิติพื้นฐานคะแนนความสามารถในการเรียนวิชาคอมพิวเตอรเรื่องการคํานวณและ การใชสูตรของนักเรียนชั้นป.6/6 จากการทดสอบ 2 ครั้ง รายการ N X ทดสอบกอนฝก 38 3.27 ทดสอบหลังฝก 38 8.63 จากตารางที่ 1 พบวา คะแนนความสามารถในการเรียนวิชาคอมพิวเตอรเรื่องการคํานวณ และการใชสูตรของนักเรียนชั้นป.6/6 จากการทดสอบ 2 ครั้ง เทากับ 3.27 และ 8.63 ซึ่งแสดงให เห็นชัดเจนวานักเรียนมีความกาวหนาในการการเรียนวิชาคอมพิวเตอรเรื่องการคํานวณและการใชสูตร

(4)

2. คะแนนความแตกตางระหวางกอนและหลังการจัดกิจกรรมตามสื่อประกอบการฝก ตารางที่ 2 เปรียบเทียบคะแนนความแตกตางระหวางกอนและหลังการจัดกิจกรรมตามสื่อประกอบ การฝก ในการเรียนวิชาคอมพิวเตอรเรื่องการคํานวณและการใชสูตรของนักเรียน ชั้นป.6/6 จํานวน 38 คน (คะแนนเต็ม 10 คะแนน) คะแนนแบบทดสอบ เลขที่ ชื่อ - นามสกุล กอนเรียน (10) หลังเรียน (10) ความกาวหนา 1 ด.ช.ปวริศ ปญจเวทีกุล 2 8 + 6 2 ด.ช.ภูมิ วิลาลัย 0 8 + 8 3 ด.ช.วรวุฒิ เปยจันทร 4 7 + 3 4 ด.ช.สิทธิพล เอี่ยมฉวี 4 9 + 5 5 ด.ช.สมประสงค วัฒนชีพ 2 8 + 6 6 ด.ช.อนันตโชค นาวแสง 1 7 + 6 7 ด.ช.วุฒินันท เหลืองเลิศวันชัย 2 6 + 4 8 ด.ช.ณภัทรพงศ สนั่นไหว 4 7 + 3 9 ด.ช.เศรษฐพล พินิจผล 1 8 + 7 10 ด.ช.จิรศักดิ์ รักสกุล 2 8 + 6 11 ด.ช.ทิวัตถ เกียรติสุวรรณ 4 10 + 6 12 ด.ช.ณัฐวัฒน จันทรพราหมณ 4 9 + 5 13 ด.ช.ธนากร แสนผูก 3 9 + 6 14 ด.ช.นฤพล พงษประเทศ 4 8 + 4 15 ด.ช.ทรงธรรม ชวยเกิด 5 9 + 4 16 ด.ช.นาริศ แกกลา 3 10 + 7 17 ด.ช.ธนบดี สุภัตราภรรณ 5 9 + 4 18 ด.ช.ภาณุพงศ พงษพิทักษ 5 8 + 3 19 ด.ช.พูนลาภ วัฒนพงษ 3 8 + 5 20 ด.ช.ปยะณัฐ ปูวัน 3 10 + 7 21 ด.ช.ณัฐพงศ ณิชาพงศ 2 8 + 6 22 ด.ช.ธนาวินท รุงสิทธิกุล 2 7 + 5 23 ด.ช.ชาญวิทย เนียมจีน 4 10 + 6 24 ด.ช.สุทธิโชค หนองมีทรัพย 7 8 + 1 25 ด.ช.พงษธวัช ตาทอง 1 10 + 9

(5)

ตารางที่ 2 (ตอ) คะแนนแบบทดสอบ เลขที่ ชื่อ - นามสกุล กอนเรียน (10) หลังเรียน (10) ความกาวหนา 26 ด.ช.กชภณ สวางสุข 6 9 + 3 27 ด.ช.ภูริวิชญ เจนการประเสริฐ 3 9 + 6 28 ด.ช.โอฬาร ยอยดี 6 10 + 4 29 ด.ช.พิชชากร เพ็ชรรัตน 5 10 + 5 30 ด.ช.สหพล เจียมอนุกูลกิจ 1 10 + 9 31 ด.ช.นที อภิรักษกิจ 2 10 + 8 32 ด.ช.ณัฐภัทร ชนะภัย 3 8 + 5 33 ด.ช.ทัศธนะ ธนะโสธร 3 10 + 7 34 ด.ช.สหรัฐ สิริประเสริฐ 4 9 + 5 35 ด.ช.นรุตม บุรารัตนวงศ 3 9 + 6 36 ด.ช.นันทวุฒิ วรียธีระชาติ 1 8 + 7 37 ด.ช.กันตภณ ขวัญยืน 6 7 + 1 38 ด.ช.ศักดิ์สิทธิ์ โรจนวิจิตรสกุล 5 10 + 5 คะแนนรวม 125 328 + 204 คะแนนเฉลี่ย 3.27 8.63 + 5.37 จากตารางที่ 2 พบวา คะแนนความสามารถระหวางกอนและหลังการจัดกิจกรรมตามสื่อ ประกอบการฝก ในการเรียนวิชาคอมพิวเตอร เรื่องการคํานวณและการใชสูตร ของนักเรียน ชั้น ป.6/6 จํานวน 38 คน มีดังนี้ คะแนนเฉลี่ยกอนจัดกิจกรรมของนักเรียนเทากับ 3.27 และคะแนนเฉลี่ยหลัง จัดกิจกรรมของนักเรียนเทากับ 8.63 ดังนั้น นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย = 8.63 - 3.27 = 5.36 นั่นแสดงวา ภายหลังการใชนวัตกรรมฝกทักษะการคํานวณและการใชสูตร นักเรียนมีความ สามารถในการเรียนวิชาคอมพิวเตอรเรื่องการคํานวณและการใชสูตรสูงขึ้น

(6)

สรุปและอภิปรายผล 1. สรุปผลการวิจัย ภายหลังจากฝกทักษะการปฏิบัติ เรื่องการคํานวณและการใชสูตรของนักเรียนชั้นป.6/6 ดวยการจัดกิจกรรมตามสื่อประกอบการฝกที่ครูสรางขึ้น ปรากฏวานักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6/6 จํานวน 38 คน มีความสามารถในการคํานวณและการใชสูตรสูงขึ้น 2. อภิปรายผล จากผลการใชสื่อประกอบการฝกที่ครูสรางขึ้น ปรากฏวา นักเรียนชั้นป.6/6 จํานวน 38 คน มีความสามารถในการคํานวณและการใชสูตรสูงขึ้น ซึ่งพิจารณาจากคะแนนความกาวหนาในการเรียน วิชาคอมพิวเตอรเรื่องการคํานวณและการใชสูตรของนักเรียน พบวา นักเรียนมีความเขาใจและสามารถ ใชคําสั่งการคํานวณและใชสูตรไดถูกตองมากขึ้นตามระยะเวลาและจํานวนกิจกรรมที่ฝก และเมื่อสิ้นสุด การฝก พบวา นักเรียนทั้ง 38 คน สามารถใชคําสั่งในการคํานวณไดดวยตนเอง ซึ่งอาจเปนเพราะ นวัตกรรมที่ครูสรางขึ้นมีการจัดลําดับขั้นการเรียนรูจากงายไปหายากและเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยบาง กิจกรรมครูจะจัดกระบวนเรียนรูเปนกลุม เพื่อใหนักเรียนไดชวยเหลือซึ่งกันและกัน

References

Related documents

• Taxpayers subject to the provisions of Title II of the Income Tax Law (ITL) which have declared taxable income of $644,599,005 or more in the immediately preceding tax

Electron micrographs of mannonamide aggregates from water (a-e) or xylene (f): (a and b) details of aged fiber aggregates of D-mannonamide 2 negatively stained

• Our goal is to make Pittsburgh Public Schools First Choice by offering a portfolio of quality school options that promote high student achievement in the most equitable and

Most companies recruit for full-time and internship positions, but some indicate Co-Op as a recruiting priority, while not attending Professional Practice

The companies Berlin Partner GmbH and ZukunftsAgentur Branden- burg GmbH (Brandenburg Economic Development Board) support with a large range of services, from recruiting

Political Parties approved by CNE to stand in at least some constituencies PLD – Partido de Liberdade e Desenvolvimento – Party of Freedom and Development ECOLOGISTA – MT –

Notes: Online schools are defined as those that enrolled more than 50 percent of students in “exclusively” distance education in 2012, the first year that online enrollment data