• No results found

แผนย ทธศาสตร พ ฒนาบ คลากร สาน กงานส งเสร มสว สด ภาพและพ ท กษ เด ก เยาวชน ผ ด อยโอกาส และผ ส งอาย พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๗

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "แผนย ทธศาสตร พ ฒนาบ คลากร สาน กงานส งเสร มสว สด ภาพและพ ท กษ เด ก เยาวชน ผ ด อยโอกาส และผ ส งอาย พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๗"

Copied!
18
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

แผนยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากร

ส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน

ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๗

ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ กองกลาง

ส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์

เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ

มกราคม ๒๕๕๕

(2)

สารบัญ

หน้า

บทน า

๑. ความส าคัญ

๒. เป้าประสงค์ของแผน

๓. วิธีการจัดท าแผนยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากร สท.

พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๗

แผนยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากรส านักงานส่งเสริมสัวสดิภาพและ

พิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ

๑. หลักการ

๒. วิสัยทัศน์

๓. เป้าประสงค์

๔. ยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากร สท. พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๗

- ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาสมรรถนะ

- ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาความซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรมจริยธรรม

มีวินัย และเข้าถึงประชาชน

- ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาผู้น าทุกระดับ

- ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากร

พร้อมอุทิศตนเพื่อผลงานและประโยชน์สุข

ของประชาชน

- ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การเตรียมความพร้อมบุคลากรสู่ประชาคมอาเซียน

- ยุทธศาสตร์ที่ ๖

การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างยั่งยืน

*************************

(3)

แผนยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากรส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์

เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๗

บทน า

๑. ความส าคัญ ทรัพยากรบุคคลเป็นปัจจัยสู่ความส าเร็จที่ส าคัญยิ่งขององค์การต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน โดยเฉพาะใน ยุคปัจจุบันที่บริบททางสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และกระแสโลกาภิวัฒน์ท าให้มีการถ่ายเทความรู้ และมีการเรียนรู้ที่หลากหลาย องค์กรต่างๆจะต้องปรับตัว เพื่อให้สามารถแข่งขันและอยู่รอดได้อย่างมีศักดิ์ศรี และเกิดประโยชน์ต่อสังคมอย่างแท้จริง การพัฒนาทรัพยากรบุคคลจึงเป็นสิ่งจ าเป็นมาก ประกอบกับ พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๕๑ ตาม มาตรา ๗๒ ให้ส่วนราชการมีหน้าที่ด าเนินการให้มีการเพิ่มพูนประสิทธิภาพ และเสริมสร้างแรงจูงใจแก่ข้าราชการ พลเรือนสามัญ เพื่อให้ข้าราชการพลเรือนสามัญมีคุณภาพ คุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต มีขวัญและก าลังใจ ในการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อการด าเนินงานของรัฐ โดยมีเจตนารมณ์ที่จะพัฒนาข้าราชการให้เป็นผู้รู้ กว้าง รู้รอบ รู้ลึกและรู้ทัน เพื่อเป็นแรงผลักดันที่ส าคัญขององค์การ อีกทั้งให้มีค่านิยมการปฏิบัติงานมุ่งเน้น ประโยชน์ของประชาชนและผลสัมฤทธิ์ของงาน ดังนั้นส านักงาน ก.พ. จึงได้จัดท ายุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๖ เพื่อ พัฒนาบุคลากรให้เป็นผู้ที่มีคุณภาพในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ได้ก าหนดไว้ ๔ ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ : การพัฒนาคุณภาพข้าราชการในการปฏิบัติงานบนพื้นฐานของสมรรถนะ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ : การพัฒนาข้าราชการให้เป็นคนดี มีความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรมจริยธรรม มีวินัย และเข้าถึงประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ ๓ : การพัฒนาผู้น าการเปลี่ยนแปลงทุกระดับในองค์การ โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ที่ หลากหลาย ให้สามารถเป็นผู้น าตนเอง ผู้น าทีม ผู้น าองค์กร และผู้น าเครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ ๔ : การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของข้าราชการทุกคน ทุกระดับ ให้มีพลังกายที่ เข้มแข็งและพลังใจที่พร้อมอุทิศ เพื่อผลสัมฤทธิ์ของงาน ยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการพลเรือนดังกล่าว ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๒ และมีมติให้ส่วนราชการถือปฏิบัติ โดยให้ส่วนราชการจัดสรรงบประมาณแยกเป็นรายการ ค่าใช้จ่ายส าหรับการพัฒนาข้าราชการเป็นการเฉพาะอย่างชัดเจน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓ ของค่าใช้จ่ายหมวด เงินเดือนและค่าจ้างประจ า ส านักงาน ก.พ. จึงได้ชี้แจงสร้างความเข้าใจ และส่งเสริมสนับสนุนให้ส่วนราชการ สามารถจัดท ายุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน พร้อมทั้งให้มีระบบติดตามและ ประเมินผลการพัฒนาข้าราชการเป็นรายปี และสามารถใช้ผลการประเมินประกอบการบริหารงานบุคคลในเรื่อง ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง จากเหตุผลดังกล่าว ส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ จึง ได้จัดท าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร สท. พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ ขึ้น เพื่อใช้เป็นกรอบการพัฒนา บุคลากรขององค์การ ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการพลเรือนของรัฐ และสอดคล้องกับ ประเด็นยุทธศาสตร์ตามภารกิจของส านักงานฯ ซึ่งแผนนี้จะส่งเสริมและสนับสนุนให้การพัฒนาศักยภาพองค์การ ของส านักงานฯ สู่ความส าเร็จในการเป็นองค์กรกลางในการพัฒนาเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุให้เป็นไป ตามมาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์

(4)

- ๒ – ๒. เป้าประสงค์ของแผน เพื่อก าหนดแนวทางการพัฒนาบุคลากรส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ บนพื้นฐานของสมรรถนะ คุณธรรม และจริยธรรม ให้บุคลากร สท. เป็นคนเก่ง คนดี ท างานอย่างมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ๓. วิธีการจัดท าแผนยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากร สท. พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๗ ๓.๑ แต่งตั้งคณะท างานจัดท าแผนยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากร สท. ตามค าสั่ง สท. ที่ ๕๒/๒๕๕๔ ลงวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ รายละเอียดในภาคผนวก ก. ๓.๒ ประชุมคณะท างาน ๑ ครั้ง เมื่อวันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๔ พิจารณาแผนด าเนินการจัดท าแผน ยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากร สท. พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๗ เห็นชอบให้ปรับระยะเวลาตามแผนเป็น “แผนยุทธศาสตร์ พัฒนาบุคลากร สท. พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗” โดยให้ด าเนินการเป็น ๓ ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ การจัดท าแบบสอบถาม และจัดเก็บข้อมูล ขั้นตอนที่ ๒ วิเคราะห์ข้อมูล และจัดท ารายงาน ขั้นตอนที่ ๓ วิพากษ์และปรับแผน ๓.๓ สท. ได้ร่วมเป็นหน่วยงานน าร่องในโครงการเสริมสร้างศักยภาพในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การ พัฒนาข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๖ ซึ่งด าเนินการในระหว่างเดือนเมษายน – เดือนกันยายน ๒๕๕๔ ศึกษาวิสัยทัศน์ พันธกิจ ภารกิจ และประเด็นยุทธศาสตร์ขององค์กร เพื่อทบทวนข้อมูลดังกล่าวสู่การ วิเคราะห์สถานการณ์ จุดอ่อน จุดแข็ง ปัจจัยแวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ที่มีผลกระทบหรือที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาบุคลากร สาระโดยสังเขป ดังนี้ ๓.๓.๑ วิสัยทัศน์องค์กร สท. เป็นองค์กรกลางในการพัฒนาเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุให้เป็นไป ตามมาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์ ๓.๓.๒ พันธกิจองค์กร การเสริมสร้างมาตรการ/กลไก และการสนับสนุนกิจกรรมเพื่อส่งเสริมศักยภาพการ คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ และราชการอื่นตามที่กฎหมายก าหนดให้ เป็นหน้าที่ของ สท. ๓.๓.๓ ภารกิจหลักองค์กร ๑) พัฒนามาตรการ กลไก และนวัตกรรมในการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิกลุ่มเป้าหมาย ๒) เสริมสร้างความเข้มแข็งและบูรณาการการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการ ส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิกลุ่มเป้าหมาย ๓) พัฒนาระบบบริหารจัดการของ สท. ให้มีศักยภาพเป็นองค์กรกลางในการ พัฒนากลุ่มเป้าหมาย ๓.๓.๔ ประเด็นยุทธศาสตร์หลักขององค์กร ส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ ได้ ศึกษา วิเคราะห์ก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรบรรลุวิสัยทัศน์จ านวน ๓ ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ๑) พัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเด็ก เยาวชน และผู้ด้อยโอกาส ๒) ส่งเสริมความมั่นคงทางสังคมของผู้สูงอายุ ๓) เสริมพลังเครือข่ายเพิ่มบทบาทการมีส่วนร่วมของสังคมในการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์ ๔) สร้างองค์การสมรรถนะสูงตามหลักธรรมาภิบาล

(5)

- ๓ - ๓.๓.๕ แผนที่ยุทธศาสตร์ขององค์กร จากแผนที่ยุทธศาสตร์ส านักงานส่งเสริมสว้สดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ ข้างต้นจะเห็นได้ว่าการพัฒนาบุคลากร เป็นวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่ส าคัญของการพัฒนากลุ่มเป้าหมายให้ เป็นไปตามมาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพและการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์ และเป็นพื้นฐานขององค์การที่มีศักยภาพ หรือขีดความสามารถเพื่อมุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์ต่อประโยชน์สุขของประชาชน ๓.๓.๖ การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ด้านทรัพยากรมนุษย์ขององค์กร การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ด้านทรัพยากรมนุษย์ขององค์กร ใช้กระบวนการมีส่วน ร่วม โดยได้ขอความร่วมมือส านัก/กอง ให้ข้อมูลการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งด้านทรัพยากรมุนษย์ของหน่วยงาน ตามประเด็นยุทธ์ที่เกี่ยวข้อง โดยวิเคราะห์ทั้งป้จจัย แวดล้อมทั้งภายในและภายนอก ที่มีผลกระทบหรือที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาบุคลากรของส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ สรุปได้ ด้งนี้ ัฒ ์ก ิท ิภ ิบ ัต ุณ ้บ ิก ิท ิผ ุท เด ็น ุท C1 เพิ่มศักยภาพและความร่วมมือแบบเครือข่าย L3 เสริมสร้างขวัญและ ก าลังใจของบุคลากร L1 พัฒนาระบบฐาน ข้อมูลสารสนเทศ L2 เพิ่มพูนทักษะความรู้ ของบุคคลากร L4 ยกระดับการบริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาล

C

S

S

แผนที่ยุทธศาสตร์ของ

แผนที่ยุทธศาสตร์ของ

สท

สท

.

.

2554

2554

-

-

2557

2557

วิสัยทัศน์: เป็นองค์กรกลางในการพัฒนาเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์ วิสัยทัศน์: เป็นองค์กรกลางในการพัฒนาเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ ให้เป็นไปตามมาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ เด็กเยาวชนและผู้ด้อยโอกาส ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ เด็กเยาวชนและผู้ด้อยโอกาส ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมพลังเครือข่ายเพิ่มบทบาท การมีส่วนร่วมของสังคม ในการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมพลังเครือข่ายเพิ่มบทบาท การมีส่วนร่วมของสังคม ในการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างองค์การสมรรถนะสูง ตามหลักธรรมาภิบาล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 สร้างองค์การสมรรถนะสูง ตามหลักธรรมาภิบาล ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมความมั่นคงทางสังคม ของผู้สูงอายุ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมความมั่นคงทางสังคม ของผู้สูงอายุ S1 เด็ก เยาวชน และผู้ด้อยโอกาสมีสวัสดิ ภาพ และได้รับการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิตาม มาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพและ คุ้มครองพิทักษ์สิทธิ S3 สังคมมีความเข้มแข็ง ในการคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ S4 องค์กรมีระบบการ บริหารจัดการที่ดี S2 ผู้สูงอายุได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริมและ สนับสนุนให้เข้าถึงหลักประกันทางสังคม ตามมาตรฐานการส่งเสริมสวัสดิภาพและ คุ้มครองพิทักษ์สิทธิ C2 สนับสนุนการส่งเสริมและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิ P1 พัฒนามาตรการกลไก และมาตรฐาน P2 พัฒนาองค์ความรู้ และนวัตกรรม P4 ส่งเสริมการก ากับ ดูแลองค์การที่ดี C3 ผลักดันความรู้สู่การปฏิบัติ P3 พัฒนาช่องทางการรับฟังความ คิดเห็นและเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย C4 ส่งเสริมภาพลักษณ์องค์กร

P

L

(6)

- ๔ -

S จุดแข็ง

W จุดอ่อน

๑. มีองค์ความรู้และคู่มือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน กับกลุ่มเป้าหมาย ๒. บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ มีทัศนคติเชิงบวก ยอมรับการเปลี่ยนแปลง ๓. บุคลากรมีจิตบริการ ๔. บุคลากรมีความภาคภูมิใจในงานที่ท า ๕. บุคลากรมีเป้าหมายการท างานร่วมกัน และเน้น การท างานเป็นทีม ๑. ขาดการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่คนรุ่นใหม่ที่เป็นระบบ ๒. บุคลากรมีความช านาญในงานปฏิบัติมากกว่างาน นโยบาย ๓. บุคลากรบางส่วนขาดความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่จ าเป็น ในการปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาล ๔. บุคลากรส่วนใหญ่ขาดทักษะด้านภาษาอังกฤษ ๕. บุคลากรส่วนใหญ่ไม่จัดท าแผนพัฒนาตนเอง ๖. บุคลากรมาจากหลากหลายที่แตกต่างวัฒนธรรม องค์กรท าให้มีความขัดแย้งกันในบางเรื่อง ๗. การติดตามประเมินผลยังไม่เป็นระบบ ๘. บุคลากรส่วนใหญ่อายุมาก

O โอกาส

T อุปสรรค

๑. รัฐบาลมีนโยบายด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ๒. ผู้บริหารให้ความส าคัญและสนับสนุนการพัฒนา บุคลากรทุกระดับ ๓. การพัฒนามีหลายรูปแบบ และมีหลายช่องทาง ในการพัฒนาบุคลากร ๑. ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานของส านักงาน ก.พ. ไม่สร้างแรงจูงใจ ๒. การเกษียณก่อนอายุราชการท าให้ขาดคนที่มีความ ช านาญและประสบการณ์ในการท างาน เตรียมบุคลากร ไม่ทัน ๓. สถานการณ์ทางสังคมเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมีงาน มอบหมายเร่งด่วนตามนโยบายรัฐบาล ซึ่งผลกระทบ ต่อแผนการพัฒนาบุคลากร ๕. ความไม่แน่นอนในสถานการณ์ทางการเมือง ส าหรับรายละเอียดการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ด้านทรัพยากรมนุษย์ขององค์กร จ าแนกตามประเด็น ยุทธศาสตร์ สท. ตามภาคผนวก ข. ๓.๓.๗ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๗ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๒ เห็นชอบยุทธศาสตร์การพัฒนา ข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๖ และให้จัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาข้าราชการไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๓ ของหมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจ า ประกอบด้วย ๔ ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาคุณภาพข้าราชการในการปฏิบัติงานบนพื้นฐานของ สมรรถนะ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาข้าราชการให้เป็นคนดี มีความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย และเข้าถึงประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาผู้น าการเปลี่ยนแปลงทุกระดับในองค์การโดยผ่าน กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายให้สามารถเป็นผู้น าตนเอง ผู้น าทีม ผู้น าองค์การ และผู้น าเครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของข้าราชการทุกคนทุกระดับ ให้มีพลังกายที่เข้มแข็งและพลังใจที่พร้อมอุทิศเพื่อผลสัมฤทธิ์ของงาน

(7)

- ๕ - จากการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าวข้างต้นส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ จึงก าหนดยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากร สท. สู่บุคลากรที่มีคุณภาพอย่างมืออาชีพไว้ ๖ ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาสมรรถนะ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาความซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรมจริยธรรม มีวินัย และเข้าถึงประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาผู้น าทุกระดับ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากร พร้อมอุทิศตนเพื่อผลงานและประโยชน์สุข ของประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การเตรียมความพร้อมบุคลากรสู่ประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างยั่งยืน ส าหรับรายละเอียดแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากร สท. พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ มีดังนี้

(8)

แผนยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากรส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์

เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๗

๑. หลักการ เพื่อเสริมสร้างให้บุคลากรส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และ ผู้สูงอายุ เป็นข้าราชการที่มีคุณภาพบนพื้นฐานสมรรถนะ มีคุณธรรม จริยธรรม คุณภาพชีวิต และมีขวัญ ก าลังใจในการปฏิบัติราชการ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อองค์กรและประโยชน์สุขของประชาชน ๒. วิสัยทัศน์ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ บุคลากรส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และ ผู้สูงอายุ เป็นผู้ที่มีคุณภาพปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ เป็นที่เชื่อถือของประชาชนและภาคีต่าง ๆ ๓. พันธกิจ เสริมสร้างพัฒนาผู้น าและบุคลากรส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ ทุกระดับตามสมรรถนะ และบริหารให้เกิดประโยชน์สูงสุด ๔. เป้าประสงค์ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ และสมรรถนะของบุคลากรให้ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ มีการเรียนรู้ สั่งสม ประสบการณ์ด้านการพัฒนามาตรการ กลไกต่างๆ ในการส่งเสริม คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิ์กลุ่มเป้าหมาย ตลอดจนมีคุณธรรม จริยธรรม และขวัญก าลังใจเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่มีคุณภาพ เป็นที่เชื่อถือของ ประชาชน มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความสุขในการปฏิบัติราชการ ๕. ยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากร สท. พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๗ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาสมรรถนะ เป้าประสงค์ : บุคลากรส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์สิทธิเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และสูงอายุ ได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพในการปฏิบัติงานตามสมรรถนะหลัก และสมรรถนะประจ ากลุ่มงานตามความจ าเป็นและคุ้มค่า แนวทางปฏิบัติ : - พัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง - การจัดท าแผนพัฒนารายบุคคล - พัฒนาข้าราชการบรรจุใหม่ ที่อยู่ระหว่างทดลองการปฏิบัติราชการ - วางระบบการพัฒนาสมรรถนะ - พัฒนาเครื่องมือประเมินสมรรถนะ - จัดท า/พัฒนาแผนทางก้าวหน้าในอาชีพ - พัฒนาระบบติดตามประเมินผล - เตรียมความพร้อมก่อนเกษียณอายุราชการ ตัวชี้วัด : - ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาสมรรถนะตามความจ าเป็น - ร้อยละความส าเร็จในการจัดท าแผนพัฒนารายบุคคล - ร้อยละของบุคลากรบรรจุใหม่ที่เข้าร่วมโครงการ

(9)

- ระบบพัฒนาสมรรถนะมีการเคลื่อนไหว - ระดับความส าเร็จในการด าเนินการตามแผนทางก้าวหน้าในอาชีพ - ร้อยละความส าเร็จของการประเมินติดตามผล - ร้อยละความพึงพอใจของข้าราชการ/ลูกจ้างประจ าเกษียณอายุราชการที่เข้า ร่วมโครงการ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาความซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรมจริยธรรม มีวินัย และเข้าถึงประชาชน เป้าประสงค์ : บุคลากรส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์สิทธิเด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และสูงอายุ ได้รับการพัฒนาให้เป็นคนดี มีความซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย และเข้าถึงประชาชน แนวทางปฏิบัติ : - จัดท าแผนส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และสร้างจิตส านึกการเป็นข้าราชการที่ดี - จัดกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมเชิงบวก - จัดท าต้นแบบคุณธรรมจริยธรรมของบุคลากร สท. ตัวชี้วัด : - ร้อยละของบุคลากรที่รับรู้จริยธรรม คุณธรรม ตามจรรยาข้าราชการ - ร้อยละของบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม - ระดับความส าเร็จในการจัดท าต้นแบบคุณธรรมจริยธรรมของบุคลากร สท. - จ านวนกิจกรรมที่บุคลากรต้นแบบด้านคุณธรรมจริยธรรมของ สท. มีส่วนร่วม ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาผู้น าทุกระดับ เป้าประสงค์ : ผู้น าทุกระดับของส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้เป็นผู้น าตนเอง ผู้น าทีม แนวทางปฏิบัติ : - พัฒนาภาวะผู้น า - พัฒนาผู้น าการเปลี่ยนแปลง - จัดท าแผนพัฒนาเพื่อการสืบทอดต าแหน่ง ตัวชี้วัด : - ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาภาวะผู้น า - ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนารองรับการเปลี่ยนแปลง - ระดับความส าเร็จของการจัดท าแผนพัฒนาเพื่อการสืบทอดต าแหน่ง ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากร พร้อมอุทิศตนเพื่อผลงาน และประโยชน์สุขของประชาชน เป้าประสงค์ : บุคลากรส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และ ผู้สูงอายุ เกิดความตระหนัก มีแนวทางปรับปรุงพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง และมีจิตส านึก มีส่วนร่วมในการแก้ไขสิ่งแวดล้อมการท างานให้ดีขึ้น เพื่อส่งเสริม สิ่งแวดล้อมของตนเอง

(10)

แนวทางปฏิบัติ : - พัฒนาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพให้เอื้อต่อการท างาน การเรียนรู้ และการพัฒนาตนเอง - การพัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศด้านบุคลากร - ดูแลสิทธิประโยชน์และสวัสดิการ - ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากร ตัวชี้วัด : - ระดับความส าเร็จในการด าเนินการตามกิจกรรมที่ก าหนด - จ านวนระบบ/ฐานข้อมูลด้านบุคลากร - จ านวนนวัตกรรมด้านสวัสดิการ - ร้อยละความพึงพอใจของบุคลากร สท. ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การเตรียมความพร้อมบุคลากรสู่ประชาคมอาเซียน เป้าประสงค์ : บุคลากรส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และ ผู้สูงอายุ ได้รับการเตรียมความพร้อมเข้าสู่การประชาคมอาเซียน สามารถ ปรับเปลี่ยนกระบวนการท างานของตนเองได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับการ เปลี่ยนแปลง แนวทางปฏิบัติ : - จัดท าหลักสูตรการพัฒนาทักษะด้านภาษาต่างประเทศ - ส่งเสริมการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม - แสวงหาภาคีเครือข่ายการพัฒนาบุคลากรกับประเทศต่างๆ ในอาเซียน ตัวชี้วัด : - ร้อยละความส าเร็จของการจัดท าหลักสูตรการพัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศ - ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาทักษะด้านภาษาต่างประเทศ - จ านวนกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม - ระดับความส าเร็จในการด าเนินงานสร้างเครือข่ายการพัฒนาบุคลากร ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้อย่างยั่งยืน เป้าประสงค์ : ส านักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ แนวทางปฏิบัติ : - พัฒนาระบบการจัดการความรู้ - การสร้างวัฒนธรรมองค์กร ตัวชี้วัด :

- ระดับความส าเร็จ

ในการด าเนินการตามกิจกรรมที่ก าหนด

- จ านวนกิจกรรมส่งเสริม กระตุ้นการเรียนรู้ภายในองค์กร

- ร้อยละของบุคลากรที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้

- จ านวนองค์ความรู้ที่จัดเก็บในระบบ

- ระดับความส าเร็จในการจัดท าวัฒนธรรมองค์กร

(11)

ตารางแผนยุทธศาสตร์พัฒนาบุคลากร สท. พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๗

ยุทธศาสตร์ แนวทางปฏิบัติ กิจกรรม/โครงการ ตัวชี้วัด เจ้าหน้าที่/หน่วยงาน รับผิดชอบ ระยะเวลาด าเนินการ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาสมรรถนะ ๑.๑ พัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลง - การจัดอบรมหลักสูตรต่าง ๆ - การส่งพัฒนา/อบรมกับ หน่วยงานภายนอก - การให้ความรู้เกี่ยวกับการ บริหารราชการแนวใหม่ - โครงการพัฒนาทักษะด้าน คอมพิวเตอร์ - หลักสูตรฝึกบอรมเฉพาะ ต าแหน่ง - การพัฒนาสมรรถนะ + ผู้บริหาร/ผอ.ส านัก/กอง + หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย + ผู้ปฏิบัติงาน + ลูกจ้างประจ า และ พนักงานราชการ - ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับ การพัฒนาสมรรถนะตาม ความจ าเป็น ฝ่ายการเจ้าหน้าที่    ๑.๒ การจัดท าแผนพัฒนา รายบุคคล - การให้ความรู้เกี่ยวกับการ พัฒนาบุคลากร - การให้ความรู้เกี่ยวกับการ จัดท าแผนพัฒนารายบุคคลใน ระบบ DPIS - ร้อยละความส าเร็จในการ จัดท าแผนพัฒนารายบุคคล ฝ่ายการเจ้าหน้าที่  

(12)

ยุทธศาสตร์ แนวทางปฏิบัติ กิจกรรม/โครงการ ตัวชี้วัด เจ้าหน้าที่/หน่วยงาน รับผิดชอบ ระยะเวลาด าเนินการ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาสมรรถนะ (ต่อ) ๑.๓ พัฒนาข้าราชการบรรจุ ใหม่ ที่อยู่ระหว่างทดลอง การปฏิบัติราชการ - จัดการปฐมนิเทศ - การเรียนรู้ด้วยตนเอง หลักสูตรข้าราชการการบรรจุ ใหม่- การอบรมออนไลน์ หลักสูตรการเขียนหนังสือ ราชการ - การอบรมสัมมนาร่วมกัน - ร้อยละของบุคลากรบรรจุ ใหม่ที่เข้าร่วมโครงการ ฝ่ายการเจ้าหน้าที่    ๑.๔ วางระบบการพัฒนา สมรรถนะ - ศึกษา วิเคราะห์ก าหนด สมรรถนะองค์กร แบบมีส่วน ร่วม - จัดท าพจนานุกรมสมรรถนะ - ประชาสัมพันธ์ให้บุคลากร ทราบและถือปฏิบัติ - ระบบพัฒนาสมรรถนะมีการ เคลื่อนไหว ฝ่ายการเจ้าหน้าที่   ๑.๕ พัฒนาเครื่องมือ ประเมินสมรรถนะ - ศึกษาแนวทางการพัฒนา เครื่องมือประเมินสมรรถนะ - ระบบพัฒนาสมรรถนะมีการ เคลื่อนไหว ฝ่ายการเจ้าหน้าที่  ๑.๖ จัดท า/พัฒนาแผนทาง ก้าวหน้าในอาชีพ - ศึกษา วิเคราะห์ จัดท าแผน ทางก้าวหน้าในอาชีพ - ด าเนินการจัดท าแผน ความก้าวหน้าในอาชีพ แบบมีส่วนร่วม - ระดับความส าเร็จในการ ด าเนินการตามแผนทาง ก้าวหน้าในอาชีพ ฝ่ายการเจ้าหน้าที่   

(13)

ยุทธศาสตร์ แนวทางปฏิบัติ กิจกรรม/โครงการ ตัวชี้วัด เจ้าหน้าที่/หน่วยงาน รับผิดชอบ ระยะเวลาด าเนินการ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาสมรรถนะ (ต่อ) - เสนอขออนุมัติผู้บริหาร น าไปปฏิบัติ - ส ารวจความคิดเห็น /ประเมินผล ๑.๗ พัฒนาระบบติดตาม ประเมินผล - โครงการพัฒนาระบบ ติดตามประเมินผลการพัฒนา - พัฒนาเครื่องมือติดตาม ประเมินผลการพัฒนาให้ ทันสมัย รายงานผลได้รวดเร็ว - ประสานความร่วมมือกับ ส านัก/กอง ในการรวบรวม ข้อมูล - ประสานจัดท าเป็นตัวชี้วัด ระดับส านัก/กอง - ร้อยละความส าเร็จของการ ประเมินติดตามผล ฝ่ายการเจ้าหน้าที่    ๑.๘ เตรียมความพร้อมก่อน เกษียณอายุราชการ - การปัจฉิมนิเทศข้าราชการ/ ลูกจ้างประจ าก่อนเกษียณอายุ ราชการ - จ านวนข้าราชการ/ ลูกจ้างประจ า ที่เกษียณอายุ ราชการเข้าร่วมโครงการ ฝ่ายการเจ้าหน้าที่   

(14)

ยุทธศาสตร์ แนวทางปฏิบัติ กิจกรรม/โครงการ ตัวชี้วัด เจ้าหน้าที่/หน่วยงาน รับผิดชอบ ระยะเวลาด าเนินการ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาความ ซื่อสัตย์สุจริต คุณธรรม จริยธรรม มีวินัย และ เข้าถึงประชาชน ๒.๑ จัดท าแผนส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม และ สร้างจิตส านึกการเป็น ข้าราชการที่ดี - ประชุมคณะท างานทบทวน ปรับปรุงแผนส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และสร้างจิตส านึก การเป็นข้าราชการที่ดี - ประชาสัมพันธ์และส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมตาม จรรยาข้าราชการ สท. ให้ น าไปสู่การปฏิบัติ - ร้อยละของบุคลากรที่รับรู้ จริยธรรม คุณธรรม ตาม จรรยาข้าราชการ ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ / กลุ่มงานคุ้มครอง จริยธรรม    ๒.๒ รณรงค์ส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรมเชิงบวก - โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมชิงบวก โดยการจัด กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมให้แก่บุคลากร ใน ช่องทางต่าง ๆ ขององค์กร - ร้อยละของบุคลากรที่เข้า ร่วมกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ / กลุ่มงานคุ้มครอง จริยธรรม    ๒.๓ จัดท าต้นแบบคุณธรรม จริยธรรมของบุคลากร สท. - ตั้งคณะท างานฯ พิจารณา ต้นแบบคุณธรรม จิรยธรรม บุคลากร สท. - ประชาสัมพันธ์หลักเกณฑ์ฯ - ระดับความส าเร็จในการ จัดท าต้นแบบคุณธรรม จริยธรรมของบุคลากร สท. ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ / กลุ่มงานคุ้มครอง จริยธรรม    - พิจารณาคัดเลือกบุคลากร ต้นแบบ - จ านวนกิจกรรมที่บุคลากร ต้นแบบด้านคุณธรรม จริยธรรมของ สท. มีส่วนร่วม ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ / กลุ่มงานคุ้มครอง จริยธรรม/ส านัก-กอง   

(15)

ยุทธศาสตร์ แนวทางปฏิบัติ กิจกรรม/โครงการ ตัวชี้วัด เจ้าหน้าที่/หน่วยงาน รับผิดชอบ ระยะเวลาด าเนินการ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาผู้น าทุก ระดับ ๓.๑ พัฒนาภาวะผู้น า - ประสานจัดท าหลักสูตรและ ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรม + ผู้บริหาร/ผอ.ส านัก/กอง + หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย + ผู้ปฏิบัติงาน - กิจกรรมกระตุ้นการส่งเสริม ศักยภาพผู้น า - ติดตามประเมินผล - ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับ การพัฒนาภาวะผู้น า ฝ่ายการเจ้าหน้าที่    ๓.๒ พัฒนาผู้น าการ เปลี่ยนแปลง - โครงการค่ายผู้น าการ เปลี่ยนแปลง - ประสานจัดท าหลักสูตรและ ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรม + ผู้บริหาร/ผอ.ส านัก/กอง + หัวหน้ากลุ่ม/ฝ่าย + ผู้ปฏิบัติงาน + กลุ่ม Talent - กิจกรรมกระตุ้นการส่งเสริม ศักยภาพผู้น าการ เปลี่ยนแปลง - ติดตามประเมินผล - ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับ การพัฒนารองรับการ เปลี่ยนแปลง ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ 

(16)

ยุทธศาสตร์ แนวทางปฏิบัติ กิจกรรม/โครงการ ตัวชี้วัด เจ้าหน้าที่/หน่วยงาน รับผิดชอบ ระยะเวลาด าเนินการ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาผู้น า ทุกระดับ (ต่อ) ๓.๓ จัดท าแผนพัฒนา เพื่อการสืบทอดต าแหน่ง - ศึกษา วิเคราะห์จัดท า แผนการสืบทอดต าแหน่ง ทุกระดับ แบบมีส่วนร่วม + ระดับต้น + ระดับกลาง + ระดับสูง - ระดับความส าเร็จของการ จัดท าแผนพัฒนาเพื่อการสืบ ทอดต าแหน่ง ฝ่ายการเจ้าหน้าที่   ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ส่งเสริมการพัฒนา คุณภาพชีวิตของ บุคลากร พร้อมอุทิศ ตนเพื่อผลงานและ ประโยชน์สุขของ ประชาชน ๔.๑ พัฒนาสิ่งแวดล้อมทาง กายภาพให้เอื้อต่อการ ท างาน การเรียนรู้ และการ พัฒนาตนเอง - โครงการเสริมสร้างสุขภาวะ บุคลากร สท. - โครงการพัฒนาสมรรถภาพ ทางกายบุคลากร สท. - จัดท าแผนปฏิบัติการสร้าง ความผาสุกและความพึงพอใจ ของบุคลากร สท. - ด าเนินการตามแผนที่ก าหนด - ระดับความส าเร็จในการ ด าเนินการตามกิจกรรมที่ ก าหนด ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ / ฝ่ายพัสดุ / คณะกรรมการ สวัสดิการ สท./ คณะท างานกีฬาและ นันทนาการ สท.    ๔.๒ การพัฒนาฐานข้อมูล สารสนเทศด้านบุคลากร - การพัฒนาระบบสารสนเทศ การบริหารทรัพยากรบุคคล ให้มีความรวดเร็ว ถูกต้อง แม่นย า - จ านวนระบบ/ฐานข้อมูล ด้านบุคลากร ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ / กลุ่มพัฒนาองค์ ความรู้และ สารสนเทศ    ๔.๓ ดูแลสิทธิประโยชน์ และสวัสดิการ - ประขุมคณะท างานที่ เกี่ยวข้องพัฒนาสวัสดิการ ด้านต่าง ๆ - จ านวนนวัตกรรมด้าน สวัสดิการ ฝ่ายการเจ้าหน้าที่/ คณะท างานที่ เกี่ยวข้อง   

(17)

ยุทธศาสตร์ แนวทางปฏิบัติ กิจกรรม/โครงการ ตัวชี้วัด เจ้าหน้าที่/หน่วยงาน รับผิดชอบ ระยะเวลาด าเนินการ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ๔.๔ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของบุคลากร - โครงการ “กิจกรรมมุม ข่าวสารเพื่อการเพื่อการ เรียนรู้ และการส ารวจความ คิดเห็นเพื่อการพัฒนาองค์กร” - ส ารวจความคิดเห็นและ ความพึงพอใจของบุคลากร - ร้อยละความพึงพอใจของ บุคลากร สท. ฝ่ายการเจ้าหนาที่    ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การเตรียมความพร้อม บุคลากรสู่ประชาคม อาเซียน ๕.๑ จัดท าหลักสูตรการ พัฒนาทักษะด้าน ภาษาต่างประเทศ - โครงการพัฒนาทักษะด้าน ภาษาต่างประเทศ - จัดท าหลักสูตรการพัฒนา ทักษะภาษาต่างประเทศ - สรรหาหน่วยงาน/วิทยากร - ร้อยละความส าเร็จของการ จัดท าหลักสูตรการพัฒนา ทักษะภาษาต่างประเทศ - ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับ การพัฒนาทักษะด้าน ภาษาต่างประเทศ ฝ่ายการเจ้าหน้าที่    ๕.๒ ส่งเสริมการเรียนรู้ข้าม วัฒนธรรม - โครงการพัฒนาความรู้ ทักษะการประสานงานข้าม วัฒนธรรม - เผยแพร่/ผลิตสื่อส่งเสริม ความรู้เรื่องอาเซียน - จ านวนกิจกรรมส่งเสริมการ เรียนรู้ข้ามวัฒนธรรม ฝ่ายการเจ้าหน้าที่    ๕.๓ แสวงหาภาคีเครือข่าย การพัฒนาบุคลากรกับ ประเทศต่างๆ ในอาเซียน - ประสานงานกับส านักงาน ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ ทั้ง ในและต่างประเทศเพื่อสร้าง เครือข่ายการบริหารงาน บุคคล - ระดับความส าเร็จในการ ด าเนินงานสร้างเครือข่ายการ พัฒนาบุคลากร ฝ่ายการเจ้าหน้าที่/ กลุ่มพัฒนาระบบ บริหาร  

(18)

ยุทธศาสตร์ แนวทางปฏิบัติ กิจกรรม/โครงการ ตัวชี้วัด เจ้าหน้าที่/หน่วยงาน รับผิดชอบ ระยะเวลาด าเนินการ ปี ๒๕๕๕ ปี ๒๕๕๖ ปี ๒๕๕๗ ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การสร้างวัฒนธรรม การเรียนรู้อย่างยั่งยืน ๖.๑ พัฒนาระบบการ จัดการความรู้ - ประชุมคณะท างานพัฒนา ระบบการบริหารจัดการ ความรู้ สท. - โครงการ “กิจกรรมมุม ข่าวสารเพื่อการเพื่อการ เรียนรู้ และการส ารวจความ คิดเห็นเพื่อการพัฒนาองค์กร” - กิจกรรมถ่ายทอดความรู้ - ส่งเสริม กระตุ้นการเรียนรู้ ภายในองค์กร - พัฒนาช่องทางการเข้าถึง องค์ความรู้และการจัดเก็บ องค์ความรู้

- ระดับความส าเร็จ

ในการ ด าเนินการตามกิจกรรมที่ ก าหนด

- จ านวนกิจกรรมส่งเสริม

กระตุ้นการเรียนรู้ภายใน

องค์กร

- ร้อยละของบุคลากรที่เข้า

ร่วมกิจกรรมส่งเสริมการ

เรียนรู้

- จ านวนองค์ความรู้ที่จัดเก็บ ในระบบ ฝ่ายการเจ้าหน้าที่/ กลุ่มพัฒนาองค์ ความรู้และ สารสนเทศ    ๖.๒ การสร้างวัฒนธรรม องค์กร - ศึกษา วิเคราะห์การสร้าง วัฒนธรรมองค์กร - แต่งตั้งคณะท างานพิจารณา จัดสร้างวัฒนธรรมองค์กร - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ - กิจกรรมกระตุ้นเสริมสร้าง วัฒนธรรมองค์กร

- ระดับความส าเร็จในการ

จัดท าวัฒนธรรมองค์กร

ฝ่ายการเจ้าหน้าที่/ กลุ่มพัฒนาระบบ บริหาร   

References

Related documents

Personality disorder characterized by a clear tendency to act impulsively and without consideration of possible consequences, unpredictable and temperamental mood, a tendency

The course provides an overview of human services and the social work profession, to educate students about programs and problems in meeting social welfare needs.. Students will

In the dimension of preferred information type and information acquisition, perception the mean values of the abstract conceptualization (AC) and concrete

Additionally the DTS Server will receive Delivery Service Notifications from SMTP connected Trading Partners. The following function points define the handling of Data

• Johanna Blakley at the Norman Lear Center (USC) got creative. – They posted links to a survey on

Where permitted under national and local laws, regulations and professional codes of conduct, members may provide financial support to cover the cost of conference attendance

Patients’ self-reports also revealed moderate to excellent improve- ments (on average) in burn scar area, and significant improvements in self-esteem at 3 months post-treatment ( P

• Backend Storage for application to store end user’s data. End Users