• No results found

แนวปฏ บ ต ท ด (Good Practice) กระบวนการปฏ บ ต งานท ม ค ณภาพ (Quality Work Porcedure)

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "แนวปฏ บ ต ท ด (Good Practice) กระบวนการปฏ บ ต งานท ม ค ณภาพ (Quality Work Porcedure)"

Copied!
10
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

1

แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice)

กระบวนการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ (Quality Work Porcedure)

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

ปีการศึกษา 2554

(2)

2

ค าน า

สถาบันวิจัยและพัฒนา ได้ตระหนักถึงความส าคัญของการประกันคุณภาพการศึกษาและมุ่งที่จะพัฒนา กระบวนการปฏิบัติงานประกันคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ ยังค านึงถึงการพัฒนาบุคลากรภายใน หน่วยงาน ให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ และสามารถน าไปใช้ในการ ด าเนินงานในส่วนต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับกระบวนการ PDCA ในการนี้ สถาบันวิจัยและพัฒนา จึงได้จัดท ากระบวนการปฏิบัติงานประกันคุณภาพขึ้น เพื่อให้เป็น แนวทางในการด าเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ ต่อไป สถาบันวิจัยและพัฒนา

(3)

3

สารบัญ

หน้า ชื่อเรื่อง / แนวทางปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ... 1 ผลการด าเนินงานที่มีแนวปฏิบัติที่ดี ... 1 ชื่อหน่วยงาน ... 1 แนวทางปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ... 1 องค์ประกอบของการน าเสนอแนวปฏิบัติที่ดีของสถาบันวิจัยและพัฒนา ... 1 หลักการ ความเป็นมา ... 2 เป้าหมายการด าเนินงาน ... 2 กระบวนการ/ขั้นตอนการด าเนินงาน ... 2 ประโยชน์ที่ได้รับ ... 3 จุดเด่นของกิจกรรม ... 3 แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายใน 5 วิธีปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ดี (วิธีการ / กระบวนการ / แนวทางด าเนินงานที่ได้ด าเนินการ ตามหลัก PDCA) ... 6

(4)

4

รายละเอียดแนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ... ชื่อเรื่อง / แนวทางปฏิบัติที่ดี (Good Practice)

กระบวนการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ (Quality Work Porcedure)

ผลการด าเนินงานที่มีแนวปฏิบัติที่ดี ด้านการบริหารจัดการ ชื่อหน่วยงาน สถาบันวิจัยและพัฒนา แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice) แนวปฏิบัติที่ดี คือ วิธีปฏิบัติหรือขั้นตอนการปฏิบัติที่ท าให้หน่วยงานประสบความส าเร็จ หรือน าไปสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นที่ยอมรับในวงวิชาการ และมีหลักฐานของความส าเร็จ ปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุปวิธีปฏิบัติหรือขั้นตอนการปฏิบัติตลอดจนความรู้และประสบการณ์ที่ ได้บันทึกเป็นเอกสาร และเผยแพร่ให้หน่วยงานอื่นสามารถน าไปใช้ประโยชน์ต่อไปได้ องค์ประกอบของการน าเสนอแนวปฏิบัติที่ดีของสถาบันวิจัยและพัฒนา 1. หลักการ ความเป็นมา 2. เป้าหมายการด าเนินงาน 3. กระบวนการ/ขั้นตอนการด าเนินงาน 4. ประโยชน์ที่ได้รับ 5. จุดเด่นของกิจกรรม

(5)

5 หลักการ ความเป็นมา เนื่องจากได้มีการปรับเปลี่ยนตัวบ่งชี้และเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพการศึกษาภายในทุกปี การศึกษา จึงท าให้ความเข้าใจในตัวบ่งชี้และเกณฑ์มาตรฐานของบุคลากรยังไม่ชัดเจน ดังนั้น เพื่อแก้ไข ปัญหาดังกล่าว ทางสถาบันวิจัยและพัฒนา จึงได้จัดประชุมคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัยและพัฒนา เพื่อระดมความคิด ให้ความรู้ความเข้าใจแก่บุคลากร และเป็นการส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมใน การประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้ สถาบันวิจัยและพัฒนา ยังได้ค านึงถึงการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพ การศึกษาภายในด้วย โดยได้ด าเนินการจัดประชุมคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้าง ความรู้ความเข้าใจในการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายใน เริ่มต้นจากการให้ความรู้และแนว ทางการด าเนินงานที่ดีแก่บุคลากร หลังจากนั้นบุคลากรสามารถอธิบายถึงหลักฐานของเกณฑ์มาตรฐาน ที่รับผิดชอบแต่ละส่วน วิเคราะห์การด าเนินงาน (จุดแข็ง, จุดอ่อน) และบ่งชี้ข้อควรปรับปรุง เพื่อนาไปสู่ การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพ ต่อไป เป้าหมายการด าเนินงาน การจัดประชุมคณะกรรมหารบริหารสถาบันวิจัยและพัฒนา มีเป้าหมายเพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ ในการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนมีส่วนร่วม มีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันในเรื่องการประกันคุณภาพ น าไปสู่การพัฒนาระบบและกลไกการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในของสถาบันวิจัยและพัฒนา ให้ได้ตามมาตรฐานการอุดมศึกษา โดยมีผลการดาเนิน งานที่พัฒนาจากปีหน้าทุกตัวบ่งชี้และสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ใช้บริการ ด้วยบริการที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการ/ขั้นตอนการด าเนินงาน สถาบันวิจัยและพัฒนา ได้ด าเนินการประกันคุณภาพตามนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ภายใต้กรอบมาตรฐานคุณภาพระดับอุดมศึกษา (สมศ., สกอ.) โดยยึด หลักการปฏิบัติงานตามกระบวนการ PDCA เป็นแนวทางในการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพ เพื่อติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการประจาปี (ตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรร) โดยมีขั้นตอนการดาเนินงาน ดังนี้ 2

(6)

6 จากขั้นตอนการด าเนินงานข้างต้น สถาบันวิจัยและพัฒนา ได้ด าเนินการเพื่อพัฒนาระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษา โดยน าเข้าหารือในที่ประชุมคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัยและพัฒนา เรื่อง “แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ในการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา” ของสถาบันวิจัยและพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ปรับปรุงระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยมีเป้าหมาย ให้ผลการดาเนินงานตามตัวบ่งชี้พัฒนาขึ้นจากปีก่อนทุกตัวบ่งชี้ (2) เพื่อก าหนดแนวทางการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในที่เป็นวิธีปฏิบัติที่ดีและให้หน่วยงานอื่นไปใช้ประโยชน์ และ (3) เพื่อให้บรรลุ เป้าหมายตามเกณฑ์มาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยมีรายละเอียดการประชุม ดังกล่าว สรุปเป็นขั้นตอนได้ดังนี้ 3

(7)

7 ประโยชน์ที่ได้รับ 1. บุคลากรให้ความร่วมมือ กระตือรือร้นในการด าเนินการประกันคุณภาพ และท างานเป็นทีม 2. บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจตัวบ่งชี้และเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ และมีส่วนร่วมในการ พัฒนาคุณภาพมากขึ้น 3. มีแนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายในของสถาบันวิจัยและพัฒนา 4. สถาบันวิจัยและพัฒนา มีผลการประเมินที่พัฒนาขึ้นจากปีก่อนทุกตัวบ่งชี้ จุดเด่นของกิจกรรม 1. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลอดจนการให้ความรู้ และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน แก่บุคลากรของสถาบันวิจัยและพัฒนา 2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายใน แนวทางที่ก่อให้เกิดแนวปฏิบัติที่ดี จากการด าเนินงานตามขั้นตอนข้างต้น บุคลากรสามารถอธิบายถึงหลักฐานของเกณฑ์มาตรฐาน ที่รับผิดชอบแต่ละส่วน วิเคราะห์การด าเนินงาน (จุดแข็ง, จุดอ่อน) และบ่งชี้ข้อควรปรับปรุงในแต่ละตัว บ่งชี้ได้ ดังนั้น เพื่อพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสถาบันวิจัยและพัฒนา ให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น สถาบันวิจัยและพัฒนา ได้เลือกขั้นตอนการด าเนินงานดังกล่าวให้เป็นแนวปฏิบัติที่ดี ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายใน โดยพิจารณาทีละข้อตามตัวบ่งชี้และเกณฑ์มาตรฐานที่ได้รับ มอบหมายให้ด าเนินการ ในปีการศึกษา 2554 4

(8)

8 แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายใน 1. กระบวนการให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก่บุคลากรของ สถาบันวิจัยและพัฒนา สถาบันวิจัยและพัฒนา ได้ด าเนินการจัดการประชุมคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัยและ พัฒนา เพื่อให้ความรู้และทักษะการประกันคุณภาพการศึกษาแก่บุคลากรของสถาบันวิจัยและพัฒนา อย่างต่อเนื่องทุกปี โดยในปีที่ผ่านมาได้จัดประชุม เรื่อง “แนวปฏิบัติที่ดี (Good Practice) ในการจัดท า แผนพัฒนาคุณภาพ” เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2554 โดยมีเป้าหมายให้ผลการด าเนินงานตามตัวบ่งชี้มี การพัฒนาขึ้นจากปีก่อนทุกตัวบ่งชี้ และเพื่อก าหนดแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เป็นวิธี ปฏิบัติที่ดีและให้หน่วยงานอื่นไปใช้ประโยชน์ได้ จากการด าเนินงานดังกล่าวข้างต้น บุคลากรของสถาบันวิจัยและพัฒนา มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพ ร่วมกันวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง และแนวทางการด าเนินงานในแต่ ละตัวบ่งชี้และเกณฑ์มาตรฐานที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งสามารถนาความรู้ที่ได้ไปจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพ ตามข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายใน เพื่อให้ผลการด าเนินงานพัฒนาขึ้นจาก ปีก่อนทุกตัวบ่งชี้ 2. การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายใน การจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายใน เป็นขั้นตอนการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นการน าผลการประเมินคุณภาพการศึกษาและข้อเสนอแนะมาวางแผนเพื่อพัฒนา คุณภาพ สถาบันวิจัยและพัฒนา ได้ด าเนินการจัดท าแผนพัฒนาคุณภาพตามข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน โดยร่วมกันวิเคราะห์ข้อบ่งชี้ที่ต้องปรับปรุง และก าหนด แนวทางการปรับปรุงพัฒนาเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสรุปเป็นขั้นตอนได้ดังนี้ 2.1 ร่วมกันอธิบายหลักฐานเอกสารอ้างอิงของเกณฑ์มาตรฐานที่ได้รับมอบหมาย 2.2 ร่วมกันวิเคราะห์การด าเนินงาน (จุดแข็ง, จุดอ่อน) 2.3 ร่วมกันบ่งชี้ข้อควรปรับปรุง 2.4 จัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาภายใน สถาบันวิจัยและพัฒนา ได้จัดท าแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาในปีการศึกษา 2554 โดยน า ผลการประเมินและข้อเสนอแนะจากการประเมินในปีการศึกษา 2553 มาวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพ ซึ่ง ท าให้ผลการประเมินพัฒนาขึ้นจากปีก่อน คือ บรรลุเป้าหมายทุกตัวบ่งชี้ วิธีปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่ดี (วิธีการ / กระบวนการ / แนวทางด าเนินงานที่ได้ด าเนินการตามหลัก PDCA) 5

(9)

9

แผนผังกระบวนการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ (Quality Work Procedure)

กระบวนการปฏิบัติงาน : ประกันคุณภาพ สถาบันวิจัยและพัฒนา ผู้รับผิดชอบแต่ละองค์ประกอบ การวางแผนและควบคุมคุณภาพ เจ้าหน้าที่ฝ่ายประกันคุณภาพ รองฯ ผอ.วิจัย ผอ.วิจัย เอกสาร ที่เกี่ยวข้อง จุดควบคุม (Control item) ตัวชี้วัด (KPI) วางแผน N N Y Y 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประกันคุณภาพ 2. ประกาศนโยบาย 3. คู่มือประกันคุณภาพ 1. ความครบถ้วนของ ตัวชี้วัด และเกณฑ์การ ประเมิน 1. มีคู่มือการประกัน คุณภาพการศึกษาของ สถาบันวิจัยและพัฒนา ด าเนินการ N Y 1. บันทึกข้อความ 2. แบบฟอร์มติดตาม 3. รายงานการประเมิน ตนเอง 1. ติดตามผลการ ด าเนินงานทุกไตรมาส ตามตัวชี้วัดที่ได้รับ มอบหมาย 2. ข้อมูลมีความถูกต้อง ครบถ้วน 1. ร้อยละของการติดตาม ผลการด าเนินงาน ตรวจ ประเมิน 1. โครงการตรวจประเมิน 2. รายงานการประเมิน ตนเอง 1. มีหลักฐานอ้างอิงครบ ทุกตัวบ่งชี้ตามรายงาน การประเมินตนเอง 1. ระดับความส าเร็จของ ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษา ภายในตามเป้าหมาย ปรับปรุง 1. ผลการตรวจประเมิน 2. รายงานการประชุม 1. น าข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการการ ตรวจประเมินมาพัฒนา และปรับปรุงโดยน ามา ทบทวนแผนการ ด าเนินงานเพื่อน ามา ปฏิบัติในปีถัดไป 1. ระดับความส าเร็จของ ระบบและกลไกการ ประกันคุณภาพ ผู้อนุมัติ ... ต าแหน่ง ผู้อ านวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา วัน/เดือน/ปี ... ตัวชี้วัด (KPI) ระบบกลไก การประกันคุณภาพ การศึกษา เริ่มต้น แต่งตั้งคณะกรรมการคุณภาพ จัดท าประกาศนโยบายและ แผนปฏิบัติงานประกันคุณภาพ จัดท าคู่มือประกันคุณภาพการศึกษา พิจารณา เริ่มต้น พิจารณา เริ่มต้น จัดประชุมด าหนดแนวทาง หรืออบรมสร้างความรู้ความเข้าใจใน เกณฑ์การประกันคุณภาพ ติดตามผลการด าเนินงาน/รวบรวมข้อมูล มอบหมายตัวชี้วัด/ผู้รับผิดชอบ รับทราบและรับมอบตัวชี้วัด จัดท ารายงานการประเมินตนเอง พิจารณา ลงนาม เผยแพร่ จัดท ารายงานการประเมินตนเอง พิจารณา อนุมัติ รับการตรวจประเมินภายใน สรุปและทบทวนผลการด าเนินงาน น าผลการประเมินแจ้งให้ คณะกรรมการประจ าสถาบันฯ และบุคลากรทราบ เพื่อน าผล มาปรับปรุงในปีถัดไป สิ้นสุด 6

(10)

References

Related documents

Without prejudice to any damages that may result from this, in the event that the Preferred Supplier would fail to meet its obligation to specify by email any Locational

Transfer Credits Applied From Associate of Arts in Agriculture – Central Arizona College 64 semester credits University Foundation, Christian Worldview and General Education –

Our results reveal that although our smart phone based payment and digital receipt processes took up to 60% longer than getting paper receipts and paying with cash, users

2.0 Main topic: Theory and Methodology in Social Psychology 2.1 Objectives of the lecture:.. At the end of this lecture, you should be able to:

The municipal authorities may impose a local income tax of up to a maximum of 1.5% (general rate) on taxable income not exempt from IRC, as to the proportion of that

Knowledge and understanding required to work in a person centred way with an individual with a learning disability and dementia : To include : responding to individual needs

[r]

Export under Foreign Exchange Management Act, 1999 means: (A) the taking out of India to a place outside India any goods (B) provision of services from India to any person