• No results found

การเปล ยนแปลงพฤต กรรมส ขภาพเพ อแนวทางการเล กบ หร ของประชาชนตาบลแสนส ข อาเภอวาร นช าราบ จ งหว ดอ บลราชธาน

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "การเปล ยนแปลงพฤต กรรมส ขภาพเพ อแนวทางการเล กบ หร ของประชาชนตาบลแสนส ข อาเภอวาร นช าราบ จ งหว ดอ บลราชธาน"

Copied!
22
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

1

การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพเพื่อแนวทางการเลิกบุหรี่

ของประชาชนต าบลแสนสุข อ าเภอวารินช าราบ จังหวัดอุบลราชธานี

The Change in Health Behavior for the Abstinence Guidelines of Saen Suk

Sub-District, Warin Chamrap District, Ubon Ratchathani Province

การะเกด เพชรพิพัฒน์1 กุลชญา ลอยหา2*จ าลอง วงษ์ประเสริฐ3 Karaket Phetphiphat 1Kulchaya Loiha2*Jumlong Vongprasert 3

1บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

2คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 3คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

1Graduate school, Ubon Ratchathani Rajabhat University

2Faculty of Public Health, Ubon Ratchathani Rajabhat University 3Faculty of Science, Ubon Ratchathani Rajabhat University

*Corresponding author; E-mail: Kulchaya.l@ubru.ac.th

บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ศึกษาผลโปรแกรมการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ด้วยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีขั้นตอน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมของประชาชนในต าบลแสนสุข อ าเภอวารินช าราบ จังหวัดอุบลราชธานี ภายในและระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ เป็นการศึกษาเชิงกึ่งทดลอง ในประชาชนที่สูบ บุหรี่ในต าบลแสนสุข อ าเภอวารินช าราบ จังหวัดอุบลราชธานี จ านวน 68 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 34 คน และกลุ่ม ควบคุม 34 คน กลุ่มทดลองจ านวน 34 คน เป็นกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ด้วยการประยุกต์ใช้ทฤษฎี ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมของประชาชนและกลุ่มเปรียบเทียบ จ านวน 34 คน เป็นกลุ่มที่ได้รับการให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับการเลิกบุหรี่เพียงอย่างเดียว วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าต่ าสุด ค่าสูงสุด paired t-test และ independent t-test ที่ระดับ 0.05

(2)

2

ตนเองในการเลิกสูบบุหรี่ และการปฏิบัติตนที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆที่มีผลต่อการสูบบุหรี่ สูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติและระดับ 0.05 สรุปได้โปรแกรมการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ด้วยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีขั้นตอน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมของประชาชนในต าบลแสนสุข อ าเภอวารินช าราบ จังหวัดอุบลราชธานี และการกระตุ้นเตือนจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเป็นส่วนหนึ่งที่ท าให้ผู้สูบบุหรี่มีการความรู้และ อันตรายจากการสูบบุหรี่ของประชาชน การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคและอันตรายจากการสูบบุหรี่ การรับรู้ ความสามารถของตนเองในการเลิกสูบบุหรี่ท าให้ผู้สูบบุหรี่มีสุขภาพที่ดีขึ้นบุหรี่ และมีการปฏิบัติตนที่ดลดการสูบบุหรี่ และยังลดการกลับมาสูบบุหรี่ซ้ า ทั้งนี้ยังมีส่วนท าให้ลดผู้สูบบุหรี่รายใหม่ได้อีกด้วย ค าส าคัญ: โปรแกรมการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทาง สังคม บุหรี่ Abstract

This research is aimed at Study the results of the program to promote abstinence by applying the theory of the process of changing health behavior in conjunction with the social support of the people in Saen Suk. Warin Chamrap District, Ubon Ratchathani Province, within and between the experimental group and the comparison group is a semi-experimental study. The subjects were 68 persons, divided into 34 experimental groups and 34 comparison groups. The experimental group was a group that received a program to promote abstinence by applying the theory of health behavior change in conjunction with the social support of the people. The comparison groups of 34 people were given abstinence counseling alone. Data were analyzed by frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, paired t-test and independent t-test at 0.05 level.

(3)

3

smokers healthier than smokers, and their smoking habits have reduced smoking and reduced smoking. This has also contributed to the reduction of new smokers.

Keywords: Abstinence Promotion Program, Theory of the process of changing healthy behavior in

(4)
(5)
(6)
(7)
(8)
(9)

9

ส่วนที่ 4 การรับรู้ความสามารถตนเองในการเลิกสูบบุหรี่ ส่วนที่ 5 พฤติกรรมการปฏิบัติตนเพื่อผ่อนคลายความเครียด และการออกก าลังกาย การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ 2 ความรู้และอันตรายจากการสูบ บุหรี่ของประชาชน ส่วนที่ 3 การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคและอันตรายจากการสูบบุหรี่ ส่วนที่ 4 การรับรู้ ความสามารถตนเองในการเลิกสูบบุหรี่ ส่วนที่ 5 พฤติกรรมการปฏิบัติตนเพื่อผ่อนคลายความเครียด และการออกก าลัง กายโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าต่ าสุด ค่าสูงสุด และประเมินผลโปรแกรม การส่งเสริมการเลิกบุหรี่ด้วยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทาง สังคมของประชาชนในต าบลแสนสุข อ าเภอวารินช าราบ จังหวัดอุบลราชธานี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าต่ าสุด ค่าสูงสุด paired t-test และ independent t-test ที่ระดับ 0.05

(10)
(11)
(12)
(13)
(14)
(15)
(16)

16

2. ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไป

(17)
(18)
(19)
(20)
(21)

21

กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบพระคุณคณาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ

อุบลราชธานี ที่ให้โอกาสได้ท างานวิจัยครั้งนี้ ขอบพระคุณสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

เอกสารอ้างอิง

[1] Marthers, C.D., & Loncar, D. (2006). Projections of Global Mortality and Burden of Disease from 2002 to 2030. Plos Medicine. 3 ,11 (November 2006): 2011 – 2030.

[2] ส านักงานสถิติแห่งชาติ. (2558). สรุปผลที่ส าคัญการส ารวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร

พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ : ส านักงานสถิติพยากรณ์ ส านักงานสถิติแห่งชาติ.

[3] World Health Organization. (2013). WHO Report on the Global Tobacco Epidemic : The

MPOWER package. Geneva, Switzerland. [online]. Available from: http://apps.who.int/iris/

bitstream/10665/85380/1/9789241505871_eng.pdf [accessed 17 May 2020].

[4] ประกาศิต วาทีสาธกกิจ. (2551). การส่งเสริมการเลิกสูบบุหรี่ในงานประจ า. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ ฯ : มูลนิธิ รณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่. [5] ส านักงานสถิติแห่งชาติ. (2551). การส ารวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของประชากรไทย พ.ศ. 2549 : สถิติส าคัญ เกี่ยวกับการสูบบุหรี่ของคนไทยวิเคราะห์ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไข. กรุงเทพฯ : มูลนิธิการรนรงค์การ ไม่สูบบุหรี่. [6] ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฎ์และคณะ. (2555). สรุปสถานการณ์การควบคุมการบริโภคยาสูบของประเทศไทย พ.ศ. 2555. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เจริญมั่นคงการพิมพ์. [7] โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลแสนสุข อ าเภอวารินช าราบ จังหวัดอุบลราชธานี. (2558). รายงานประจ าปี 2558. เอกสารอัดส าเนา, 2558. [8] ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์, ปวีณา ปั้นกระจ่าง และสุนิดา ปรีชาวงษ์. (2557). สรุปสถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงด้านยาสูบ ของประเทศไทย พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ : เจริญมั่งมีการพิมพ์.

(22)

References

Related documents

A similar, but weaker result was proved by Fink (see [1]) who showed that every perfect matching of a hypercube extends to a Hamiltonian cycle.. The perfect matching version

Regions Code Description 0 United States Completions Year 2013 Jobs Timeframe 2013 - 2014 Datarun 2014.3 – QCEW Employees... Appendix A - Data Sources

With significant evidence suggesting that disease progression is delayed and renal function is improved in all study markers for patients who participated in a CKD education

In cases where a pharmaceutical company is represented in Sweden only by marketing companies, these are responsible for controlling that the rules in the agreement are

Oncology (uveal melanoma), mRNA, gene - expression profiling by real - time RT - PCR of 15 genes (12 content and 3 housekeeping genes), utilizing fine needle aspirate or formalin

at 2593 (“[I]t is well established that if a statute has two possible meanings, one of which violates the Constitution, courts should adopt the meaning that does not do

Please Note: If you book a Royal Caribbean International holiday in conjunction with other services (such as flights, on-shore accommodation and/or ground transfers) which

In the previous sections, we dis- cuss the expectation that a neural network exploiting the fractional convolution should perform slightly worse than a pure binary (1-bit weights