• No results found

แนวทางการจ ดท าแผนการจ ดการความร (KM) ป งบประมาณ พ.ศ.2554 เมษายน 2554

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "แนวทางการจ ดท าแผนการจ ดการความร (KM) ป งบประมาณ พ.ศ.2554 เมษายน 2554"

Copied!
36
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

แนวทางการจัดทําแผนการจัดการความรู้ (KM)

ปีงบประมาณ พ

.

.2554

(2)

กระบวนการจัดการความรู้

(

Knowledge Management Process)

1. การบ่งชี้ความรู้

(Knowledge Identification)

2. การสร้างและแสวงหาความรู้

(Knowledge Creation and Acquisition)

3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization)

4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้

(Knowledge Codification and Refinement)

5. การเข้าถึงความรู้ (Knowledge Access) 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 7. การเรียนรู้ (Learning) เราต้องมีความรู้เรื่องอะไร เรามีความรู้เรื่องนั้นหรือยัง ความรู้นั้นทําให้เกิดประโยชน์กับองค์กรหรือไม่ ทําให้องค์กรดีขึ้นหรือไม่ มีการแบ่งปันความรู้ให้กันหรือไม่ เรานําความรู้มาใช้งานได้ง่ายหรือไม่ ความรู้อยู่ที่ใคร อยู่ในรูปแบบอะไร จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร จะแบ่งประเภท หัวข้ออย่างไร จะทําให้เข้าใจง่ายและสมบูรณ์อย่างไร 2 21/12/54

(3)

แนวทางการจัดทําแผน

KM

ของส่วนราชการ

Desired State of KM Focus Areas

ประเด็นยุทธศาสตร์

กลยุทธ์

กระบวนงาน

KM Focus Areas

พันธกิจ

/

วิสัยทัศน์

ความรู้ที่สําคัญต่อองค์กร

ความรู้เกี่ยวกับลูกค้าความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียต่างๆประสบการณ์ความรู้ที่องค์กรสั่งสมความรู้เกี่ยวกับกระบวนการความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และบริการความรู้ที่มีอยู่ในบุคลากร ฯ ล ฯ

ปัญหา

KM Action Plans

(

6-

step model)

(

ขอบเขต

KM)

(

เป้าหมาย

KM)

(Work process)

(

แผนการจัดการความรู้

)

Change Management Process

3

(4)

1.

องค์กรจะต้องมองภาพรวมของปัจจัยแวดล้อมภายในองค์กร ที่

จะส่งผลกระทบต่อกระบวนการจัดการความรู้

(KM

Process)

ของ

องค์กร โดยการนํากระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงมา

เชื่อมโยง

เพื่อจะผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเสริมสร้าง

สภาพแวดล้อม ที่จะทําให้กระบวนการจัดการความรู้มีชีวิตหมุนต่อไปได้

อย่างต่อเนื่อง และทําให้การจัดการความรู้ขององค์กรมีประสิทธิผล

โดยจัดทําเป็นแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) และนําไปสู่

การปฏิบัติให้เกิดขึ้นจริงๆ

2.

องค์กรต้องมีการกําหนด ขอบเขต

KM (KM

Focus Area)

และเป้าหมาย

KM

(Desired State)

ที่องค์กรต้องการเลือกทํา เพื่อ

สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนบริหารราชการแผ่นดิน

ประเด็นสําคัญ

4 21/12/54
(5)

3.

การกําหนดขอบเขต

KM

และเป้าหมาย

KM

เพื่อต้องการ

จัดการความรู้ที่จําเป็นต้องมีในกระบวนงาน (Work Process)

เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ตามแผนบริหารราชการแผ่นดิน ที่

องค์กรได้จัดทําขึ้น

4.

องค์กรต้องมีการประเมินตนเองเรื่องการจัดการความรู้

(KM

Assessment

Tool :

KMAT)

หรือวิธีการประเมินตนเองแบบใดก็ได้

เพื่อทราบถึงจุดอ่อน

-

จุดแข็ง

/

โอกาส

-

อุปสรรค

ที่จะเป็นปัจจัย

สําคัญต้องปรับปรุง-รักษาไว้ / พัฒนาให้การจัดการความรู้บรรลุผลตาม

เป้าหมาย KM

ประเด็นสําคัญ

5 21/12/54
(6)

5.

องค์กรต้องนําผลลัพธ์ของการประเมินตนเอง เพื่อจะนํามา

กําหนดหาวิธีการสู่ความสําเร็จ ไว้ในแผนการจัดการความรู้

(KM

Action Plan)

โดยอาจจะเป็นแผนการจัดการความรู้ระยะสั้นหรือเป็น

แผนระยะยาว

6.

งค์กรต้องมีการกําหนดโครงสร้างทีมงาน

KM

เพื่อมา

ดําเนินการตามแผนการจัดการความรู้ ให้การจัดการความรู้

บรรลุผลตามเป้าหมาย

KM

ประเด็นสําคัญ

6 21/12/54
(7)

7.เมื่อองค์กรได้ดําเนินงานตามแผนการจัดการความรู้ เพื่อสนับสนุน

ประเด็นยุทธศาสตร์แล้ว

ผู้บริหารทุกระดับจะต้องร่วมผลักดันให้

เกิดการบูรณาการ กระบวนการจัดการความรู้

(KM

Process)

ให้

ยึดถือปฏิบัติอยู่ในกระบวนงาน (Work Process) ของข้าราชการ

รวมถึงบูรณาการกระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง

(Change Management Process)

ให้เกิดขึ้นในการปฏิบัติราชการของ

องค์กร

ในขอบเขต KM และเป้าหมาย KM ในเรื่องอื่นๆ ต่อไป

ประเด็นสําคัญ

7

(8)

แนวทางการจัดการความรู้

ปีงบประมาณ พ.ศ.2554

8

(9)

แนวทางการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ

2554

• กําหนดองค์ความรู้ที่จําเป็นสามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์

• จัดทําแผนการจัดการความรู้

แต่งตั้งผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ และทีมงานการจัดการ ความรู้ของหน่วยงาน – กําหนดองค์ความรู้ที่จําเป็นตามประเด็นยุทธศาสตร์ โดยนําข้อมูลที่ระบุ ไว้ในคํารับรองการปฏิบัติราชการปี พ.ศ.2554 มาดําเนินการ และเป็น องค์ความรู้ที่หามาจากความต้องการของบุคลากรทั้งภายในและภายนอก องค์กร – เลือกองค์ความรู้ที่จําเป็นอย่างน้อย 3 องค์ความรู้ จาก 2 ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกัน (ต้องไม่ซํ้ากับความรู้ที่เคยเลือกมาทําแผน KM แล้ว) • ทบทวนเพิ่มเติมความรู้ที่จําเป็นต่อการปฏิบัติราชการให้มากขึ้น หรือ ครบถ้วน สมบูรณ์ขึ้น • ระบุเหตุผล และจําเป็นในการตัดสินใจเลือกองค์ความรู้นั้น 21/12/54 9
(10)

แนวทางการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ

2554

• จัดทําแผนการจัดการความรู้

(

ต่อ

)

ระบุกิจกรรมการจัดการความรู้ ระยะเวลาดําเนินการ ตัวชี้วัด ค่า เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายในแต่ละกิจกรรม และผู้รับผิดชอบในแต่ละ กิจกรรม – เลือกตัวชี้วัดผลการจัดการความรู้ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ พิจารณา เลือกตัวชี้วัดตามคํารับรองการปฏิบัติราชการที่มีนัยสําคัญ 1 ตัวชี้วัด – กําหนดตัวชี้วัดในแต่ละกิจกรรมหลักเพื่อประเมินผลการดําเนินการเทียบ กับค่าเป้าหมายสามารถเลือกตัวชี้วัดตามคํารับรองได้เอง ทั้งนี้ควรเป็น ตัวชี้วัดที่เหมาะสม ตรงตามเป้าประสงค์ – ผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการ ความรู้ทบทวนความถูกต้อง เหมาะสมและลงนามรับรองภายใน 31 มี.ค. 2554 – จัดทําและปฏิบัติตามแผนการจัดการความรู้ 21/12/54 10
(11)

แนวทางการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ

2554

• จัดทําแผนการจัดการความรู้

(

ต่อ

)

จัดทําและปฏิบัติตามแผนการจัดการความรู้

• ระบุกิจกรรมการจัดการความรู้ตามขั้นตอนการจัดการความรู้

(Knowledge Management Process : KMP) 7 ขั้นตอน

• ระบุกิจกรรมการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process : CMP) 6 องค์ประกอบ • บูรณาการ KMP และ CMP หรืออ้างอิง CMP กับขั้นตอนของ KMP ในหมายเหตุ • การจัดกิจกรรมยกย่องชมเชยต้องเป็นรูปธรรม โดยเพิ่มเป็นกิจกรรม ย่อยหลังกิจกรรมที่ 7 เพื่อผลักดัน KM ให้เป็นรูปธรรม

ดําเนินการตามแผน KM ทั้ง 7 ขั้นตอน และติดตามผล

จากตัวชี้วัดที่กําหนด

21/12/54 11
(12)

แนวทางการจัดการความรู้ ปีงบประมาณ

2554

• จัดทําแผนการจัดการความรู้

(

ต่อ

)

ดําเนินการตามแผนการจัดการความรู้ ทุกกิจกรรมทั้ง 3

แผน มีการติดตามผลและความก้าวหน้า ต้องดําเนินการ

ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ทุก

กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แต่ละขั้นตอน

เก็บหลักฐานของการดําเนินงานทั้ง 7 ขั้นตอนของ KMP

และ 6 ประกอบของ CMP สําหรับการตรวจประเมิน

วัดผลการดําเนินการ โดยพิจารณาจากร้อยละเฉลี่ยถ่วง

นํ้าหนักความสําเร็จความสําเร็จจากผลสัมฤทธิ์ของการ

ดําเนินกิจกรรมที่ดําเนินการได้สําเร็จ ครบถ้วนทุกกิจกรรม

ตามแผน KM ทั้ง 3 องค์ความรู้

ผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ต้องติดตาม

ความก้าวหน้าของการดําเนินกิจกรรมตามแผน KM ทั้ง 3

แผน ไม่น้อยกว่า 2 ครั้ง

/

ปี ภายในไตรมาส 3 และ

4

21/12/54 12
(13)
(14)
(15)

2. การสร้างและแสวงหา ความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition)

ตัวอย่างการบูรณาการ

3.

กระบวนการ

และเครื่องมือ

(Process & Tools)

4.

การเรียนรู้

(Learning)

2.

การสื่อสาร

(Communication)

5.

การวัดผล

(Measurements)

6.

การยกย่องชมเชย

และการให้รางวัล

(Recognition and Reward)

เป้าหมาย

(Desired State)

1.

การเตรียมการและ

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

(Transition and Behavior

Management)

6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Sharing) 7. การเรียนรู้ (Learning) 5. การเข้าถึงความรู้ ( Knowledge Access) 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization) 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้

(Knowledge Codification and Refinement)

3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ (Knowledge Organization)

4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้

(Knowledge Codification and Refinement)

1. การบ่งชี้ความรู้

(Knowledge Identification)

(16)
(17)
(18)
(19)
(20)
(21)
(22)
(23)
(24)

Template แผน KM

แบบฟอร์ม 1 : องค์ความรู้ที่จําเป็นตามประเด็นยุทธศาสตร์

แบบฟอร์ม 2 : แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan)

24

(25)
(26)
(27)

Workshop

คัดเลือกองค์ความรู้ที่จําเป็นตามประเด็นยุทธศาสตร์

27

(28)

ปัจจัยในการพิจารณาองค์ความรู้ที่องค์ความรู้ที่จําเป็นตาม

ประเด็นยุทธศาสตร์

สอดคล้องกับพันธกิจ (สอดคล้องกับทุกพันธกิจ / สอดคล้องกับบางพันธกิจ)

สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ (สอดคล้องกับทุกประเด็นยุทธศาสตร์ /

สอดคล้องกับบางประเด็นยุทธศาสตร์)

สอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (สอดคล้องกับความ

ต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน-ภายนอกองค์กรทุกกลุ่ม / บางกลุ่ม)

สอดคล้องกับกระบวนการและข้อกําหนดของกระบวนการ (สอดคล้องกับ

กระบวนการและข้อกําหนดของกระบวนการทุกกระบวนการ / บาง

กระบวนการ)

ไม่ซํ้ากับความรู้ที่เคยเลือกมาทําแผน

KM

แล้ว (ไม่ซํ้า / ซํ้ากับความรู้ที่เคย

เลือกมาทําแผน

KM

แล้ว )

21/12/54 28
(29)

การพิจารณาองค์ความรู้ที่องค์ความรู้ที่จําเป็นตามประเด็นยุทธศาสตร์

ประเด็นยุทธศาสตร์

องค์ความรู้

A B C D E

รวม

(30)

การพิจารณาองค์ความรู้ที่องค์ความรู้ที่จําเป็นตามประเด็นยุทธศาสตร์

องค์ความรู้

ความสอดคล้องกับพันธกิจ (

A)
(31)

การพิจารณาองค์ความรู้ที่องค์ความรู้ที่จําเป็นตามประเด็นยุทธศาสตร์

องค์ความรู้

ความสอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์

(

B)
(32)

การพิจารณาองค์ความรู้ที่องค์ความรู้ที่จําเป็นตามประเด็นยุทธศาสตร์

องค์ความรู้

ความสอดคล้องกับความต้องการของผู้มีส่วนได้

ส่วนเสียภายใน-ภายนอกองค์กร (

C )
(33)

การพิจารณาองค์ความรู้ที่องค์ความรู้ที่จําเป็นตามประเด็นยุทธศาสตร์

องค์ความรู้

ความสอดคล้องกับกระบวนการ

และข้อกําหนดของกระบวนการ (

D)
(34)

การพิจารณาองค์ความรู้ที่องค์ความรู้ที่จําเป็นตามประเด็นยุทธศาสตร์

องค์ความรู้

เคยถูกเลือกมาทําแผน

KM

/

ไม่เคยถูกเลือกมาทําแผน

KM

แล้ว (

E)
(35)

การพิจารณาองค์ความรู้ที่องค์ความรู้ที่จําเป็นตามประเด็นยุทธศาสตร์

ประเด็นยุทธศาสตร์

องค์ความรู้

A B C D E

รวม

21/12/54 35

หมายเหตุ : องค์ความรู้ที่เคยดําเนินการจัดทําแผน KM มาแล้ว (มีช่อง E) ไม่สามารถเลือกมาจัดทําแผน KM ปี 2554 ได้ (แต่สามารถจัดทํา

(36)

ขอบคุณครับ

คําถาม และคําแนะนํา

Email :

36

References

Related documents

The digital reception function of this television is only effective in the countries listed in the “Country” section during the first time installation menu. Depending on

SET UP CH +/– Number buttons V/v/B/b ENTER O RETURN Language Channel Setup Auto Power Off RF Output Channel Clock Set/Adjust :English.. [ Off ] [ 3CH ] RETURN OPTION SETUP SET

[r]

This project has received funding from the European Union’s Horizon 2020 research and innovation programme. under grant agreement

Personality disorder characterized by a clear tendency to act impulsively and without consideration of possible consequences, unpredictable and temperamental mood, a tendency

-Individuals appear quite distressed and are more likely to seek treatment even than people with anxiety and mood disorders (Ansell, Sanislow, McGlashan, & Grilo, 2007).

customers said they have excellent, very good or good general health, compared with 93.9 percent of people with employer-sponsored insurance.. • A slightly greater share of

The legal regulation of board-level representation in the monistic system is limited to Paragraph 2, Section 38, prescribing that ‘in the case of public limited companies