• No results found

รายงานผลการปฏ บ ต งานตรวจสอบภายในแบบย อ ต งแต เด อนเมษายน ม ถ นายน 2555

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "รายงานผลการปฏ บ ต งานตรวจสอบภายในแบบย อ ต งแต เด อนเมษายน ม ถ นายน 2555"

Copied!
6
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

รายงานผลการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในแบบยอ ตั้งแตเดือนเมษายน – มิถุนายน 2555 รายการ ผลการตรวจสอบแบบยอ หมายเหตุ 1. การติดตามและประเมินผลการ ดําเนินงานตามแผนพัฒนา อุตสาหกรรมของประเทศ ประเด็นการตรวจสอบ - มีการนําผลการศึกษาไปใช ประโยชน - มีการกําหนดแนวทางการ ดําเนินงานในอนาคต - ไดรับการสนับสนุนจากผูบริหาร 1. หนวยงานภายใน สศอ.และหนวยงานภายนอกมีการ นําดัชนีชี้วัด/ตัวชี้วัดในระดับภาพรวม/รายอุตสาหกรรม ไปใช 2. ป 2555 ไมไดรับจัดสรรงบประมาณเพื่อจางที่ปรึกษา แตไดเตรียมการดําเนินงานเพื่อใหการติดตามและ ประเมินผลฯ กาวหนาตอไปดังนี้ - นําเสนอผานคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรม แหงชาติ - ผลักดันผานยุทธศาสตร อก.และแผนปฏิบัติการ ประจําป - ผานการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA - ตั้งสํานักประเมินผลการพัฒนาอุตสาหกรรมของ สศอ. เปนการภายในเมื่อวันที่ 22 มีนาคม 2555 3. สศอ.ไดจัดทํารายงานทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรม ไทยสูระดับโลก โดยแบงเปน 3 ระยะคือ 5 ป 10 ป และ 20 ป อยางเปนขั้นตอนทั้ง 18 สาขาอุตสาหกรรม สํานักประเมินผลฯ ตองผลักดันให มีการดําเนินงานในสวนที่จําเปน ใหมีความตอเนื่องเพื่อใช ประโยชนจากผลการศึกษาได อยางมีประสิทธิภาพ 2. การติดตามผลการตรวจสอบ - โครงการบริหารแผนแมบทการ เพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพ ของภาคอุตสาหกรรม (จากรายงานผลการตรวจสอบการ ดําเนินงานประจําเดือน พฤษภาคม 2554) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลาพระนครเหนือเปนที่ ปรึกษา ที่ปรึกษารายงานวาทั้ง 42 โครงการภายใตแผนแมบทฯ มีผลการดําเนินงานสูงกวาแผนเกือบ 100% ยกเวน อุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนยานยนต ที่ปรึกษาไดมีขอเสนอแนะ 4 ดาน 1. แผนการประชาสัมพันธเพื่อใหกลุมเปาหมายเขารวม โครงการบริหารแผนแมบทฯ ไดครบหรือใกลเคียงกับ แผนที่กําหนดไว ปงบประมาณพ.ศ. 2555 สม. และ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุไดให คําแนะนําปรึกษาที่เปนประโยชน ตอที่ปรึกษา (บ.เอ็กเซลเลนท จํากัด) เพื่อใหการดําเนินงาน โครงการบรรลุวัตถุประสงคคาด วาโครงการปนี้นาจะมี ประสิทธิภาพมากขึ้น

(2)

รายการ ผลการตรวจสอบแบบยอ หมายเหตุ 2. เหตุสุดวิสัย เชน การเกิดสึนามิที่ญี่ปุน น้ําทวมภาค ใหของไทย เปนตน 3. การติดตามและประเมินผลโครงการในแตละ ขั้นตอนเพื่อใหสอดคลองกับแผนปฏิบัติการ 4. การประเมินผลกระทบทางเศรษฐมิติถาสามารถทํา ไดอยางมีประสิทธิภาพจําสงผลตอการขยายตัวทาง เศรษฐกิจไดมากขึ้น 3. สุมตรวจการจัดซื้อ / จางตาม ระเบียบตามระเบียบพัสดุสําหรับ การจางสํารวจและจัดทํารายงาน ผลิตภาพและผลประกอบการ อุตสาหกรรมและโครงการจัดเก็บ ติดตาม ตรวจสอบและบันทึกขอมูล อุตสาหกรรมรายเดือนดวยวิธีการ ทางอิเล็กทรอนิกส ดําเนินการตามระเบียบพัสดุ ตสน. มีขอคิดเห็นวาถาดําเนินการ ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 04213 / ว 247 ลว. 14 ก.ค. 53 จะทําใหสวนราชการประหยัดเงิน งบประมาณไดมากกวาการจัดดวย วิธีการทางอเล็กทรอนิกสเพราะมีผู แขงขันราคาเพียง 2 ราย 4.คํารับรองการปฏิบัติราชการ ประจําป 2555 รอบ 2 จัดทําขอตกลงการปฏิบัติราชการรายบุคคลตามกําหนด - 5. การายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน รอบ 3 เดือน รายงานตามแผนฯ (รายไตรมาส) รายการที่ไมสามารถดําเนินการ ตามแผนฯ ได 1. การประชุม อบรม สัมมนา ใช จํานวนวันนอยกวาแผนฯเพราะ เวลาขึ้นอยูกับผูจัดและการจัดสรร เวลาของผูตรวจสอบภายใน 2. การจัดทํารายงานผลการ ตรวจสอบ ใชจํานวนวันมากกวา แผนฯ เพราะมีขอจํากัดดานเวลา (ความเสี่ยง) ควบคุมโดยการ ปฏิบัติงานอกเวลาราชการ (ไมเบิกคาตอบแทนฯ)

(3)

รายการ ผลการตรวจสอบแบบยอ หมายเหตุ 6. โครงการภายใตแผนแมบท โครงสรางพื้นฐานทางปญญา - โครงการสงเสริมและพัฒนา อุตสาหกรรมเฮมพอยางสรางสรรค แบบครบวงจร 1. ผูประกอบการมีความสนใจในการผลิตเชิงพาณิชย ในอนาคตมากกวา 2 ราย 2. โครงการกําลังอยูในระหวางการวิเคราะหความ เปนไปไดทางดานการตลาดของเฮมพซึ่งมีแนวโนมใน เชิงบวกหลายผลิตภัณฑ 3. โครงการไดเลือกผลิตภัณฑในการศึกษาถึงความ เปนไปไดในการผลิตระดับโรงงานอุตสาหกรรม มากกวา การผลิต ผลิตภัณฑเบื้องตน ปญหาที่ตองแกไข / ปรับปรุง ผูที่ครอบครองวัตถุดิบจากสวนตางๆของเฮมพยังอยู ในขายการครอบครองยาเสพติดประเภทที่ 5 ซึ่ง สวพส. กําลังรวบรวมขอมูลเพื่อประสานงานกับ คณะกรรมการอาหารและยาเพื่อปลูกเฮมพใน ภาคอุตสาหกรรมตอไป ขอคิดเห็นของ ตสน. เฮมพเปนพืชเศรษฐกิจตัวใหม ของไทยและภูมิภาคที่นาจับตา มอง ดังนั้นควรไดรับการ สนับสนุนจากผูบริหารในการของ งบประมาณเพื่อดําเนินการศึกษา ตอยอดในปหนาหรือมีการนําผล การศึกษาโครงการไปเผยแพรตอผู ที่สนใจ (ทาง Web site หรือ ชองทางอื่น)

(4)

รายงานผลการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในแบบยอ ตั้งแตเดือนกรกฎาคม – กันยายน 2555 รายการ ผลการตรวจสอบ/การดําเนินงานแบบยอ หมายเหตุ 1. รายงานผลการตรวจติดตาม 1.1 โครงการศึกษาวิจัยโอกาสทาง ธุรกิจและการเพิ่ม Value Creation สําหรับอุตสาหกรรมวัสดุอุปกรณ การแพทย (สร.1) 1.2 โครงการสงเสริมและพัฒนา อุตสาหกรรมเฮมพอยาง สรางสรรคแบบครบวงจร (สม.) 1.3 ติดตามผลการตรวจสอบความ ปลอดภัยของทรัพยสินและการ บํารุงรักษา (กคพ.) ขอ 1.1 และ 1.2 - ที่ปรึกษาสงมอบงานตามกําหนด - กรรมการใหความเห็นชอบในการรายงาน - เบิก – จายเงิน เรียบรอย ขอ 1.3 (1) เจาหนาที่ สศอ. และผูมาติดตอราชการบาง รายไมไดบันทึกเวลาเขา – ออกอาคารที่ชั้น 1 (รปภ.) 1.3 (2) แจงใหหมวดยานพาหนะเก็บสําเนาใบแจง ซอมไวเปนหลักฐานเพื่อการสืบคน/ตรวจสอบใน ภายหลัง (1) กคพ. แจงเวียน สํานัก / ศูนย / กลุมแลว (2) หมวดยานพาหนะรับทราบ และถือปฏิบัติ 2. การจัดซื้อ / จาง (สม.) ดําเนินการตามระเบียบพัสดุ ฯ ใชเงินเหลือจาย (ประหยัดได) จาง ศึกษาโครงการประเมินผลการ พัฒนาอุตสาหกรรมระยะเวลา 4 เดือน วงเงิน 500,000 บาท 3. การรับและบริจาคทรัพยสิน การรับ – บริจาคทรัพยสินและการขายทอดตลาดมีการ ปฏิบัติถูกตองตามระเบียบพัสดุและที่เกี่ยวของ บันทึกในระบบ GFMIS เรียบรอย (ครบถวน ถูกตอง) 4. คํารับรองระดับบุคคล จัดทําแบบบันทึกขอตกลงการปฏิบัติราชการรายบุคคล รอบที่ 2 (เม.ย. – ก.ย. 55) - 5. การบริหารงานดานเอกสาร (สารบรรณอิเล็กทรอนิกส) ไดหารือกับ ฝทป.ขอเพิ่มขั้นตอนการสอบทานทุกสิ้นวัน โดยหัวหนาฝาย เพื่อใหกระบวนงานมีประสิทธิภาพ ผศอ. เห็นชอบ

(5)

รายการ ผลการตรวจสอบ/การดําเนินงานแบบยอ หมายเหตุ 6. สุมตรวจการจายเงินตามสัญญา ซื้อ / จาง การเบิกจายไมตรงกับแผนการใชจายเงินประจําป (จายตั้งแตไตรมาสที่ 1 แตในทางปฏิบัติยังไมไดลง นามในสัญญา) รวมทั้งกรมตองวางแผนการใชจายเงิน ใหสอดคลองกับมติรัฐมนตรี ตสน. จะรายงานตอที่ประชุมคณะกรรมการเรงรัด การใชจายเงินงบประมาณเพื่อขอความคิดเห็น - มีปจจัยอื่นที่อยูนอกเหนือการ ควบคุม เชน การอนุมัติเงินประจํา งวดลาชา - ผูบริหารทราบแลว (ผศอ. และ รศอ.) - ตสน. จะรายงานผลความคืบหนา จากการประชุมคณะกรรมการ เรงรัดการใชจายเงินงบประมาณ ตอผูบริหารในภายหลัง 7. การตรวจสอบงบการเงิน ฌ.อก. ไมมีขอสังเกต รายงานตอ ปกอ. และ ผอ.กองกลาง สปอ. 8. สุมตรวจการใชทรัพยสินอยาง คุมคาหรือสมประโยชน (การใชโทรศัพทตั้งโตะ) ตั้งแตป 2551 มีการซื้อเครื่องโทรศัพท 2 ครั้ง (ป 2553 10 เครื่อง 10,486.- บาท ป 2555 10 เครื่อง 6,527.- บาท) คาใชโทรศัพทลดลงกวาป 2551 มาโดยตลอด เพราะสวนใหญทุกคนมีโทรศัพทมือถือสวนตัวที่ใชกับ งานในหนาที่ดวยและการสงขอมูลทาง e – mail / fax ฯ เมื่อเปรียบเทียบกับผลการดําเนินงานตามตัวชี้วัดที่ ไดรับคะแนนไมต่ํากวา 4.5 (คะแนนเต็ม 5) และ ปริมาณงานที่เพิ่มขึ้นทุกป พอจะสรุปไดวาการใช ทรัพยสินมีความคุมคา / สมประโยชนตอราชการ ประสานงานกับ กคพ. เพื่อบันทึก ครุภัณฑต่ํากวาเกณฑในทะเบียน คุมเพื่อใหการปฏิบัติงานถูกตอง และสามารถสืบคนไดในภายหลัง 9. การตรวจสอบพิเศษเรื่องการปรับ เงินเพิ่มตามวุฒิของลูกจางประจํา สอบทานความถูกตอง ครบถวน ตามคําสั่งฯ - 10. การประเมินผลการปฏิบัติตาม คํารับรองรายบุคคล รายงานภายในกําหนด -

(6)

รายการ ผลการตรวจสอบ/การดําเนินงานแบบยอ หมายเหตุ 11. การเงิน บัญชี พัสดุ งบประมาณ ระบบ GFMIS การบันทึกรายการครบถวน เปนปจจุบัน รวมทั้งการออกรายงาน - 12.การรายงานสรุปผลการ ปฏิบัติงานรอบ 3 เดือน ปฏิบัติงานไดตามแผนฯ ยกเวนขอ 14 และ 15 เนื่องจากเวลามีจํากัดแตตองเขารวมอบรม ประชุม สัมมนางานของกรมและเรื่องที่เปนประโยชนตอการ ปฏิบัติงาน แกไขโดยใชเวลานอกราชการ (ไมเบิกคาตอบแทน) - 13. การใหคําแนะนํา ปรึกษา แผน 3.99 วัน / 2 คน ผล 4.69 วัน / 2 คน มีการสอนงานภายในกลุม 2 ครั้ง (GFMIS) - 14. การประชุม อบรม สัมมนา แผน 24.99 วัน / 2 คน ผล 59.85 วัน / 4 คน สนับสนุนใหบุคลากรเรียนรูงาน หลายๆดานเพื่อชวยงานตรวจสอบ ภายในไดมีประสิทธิภาพ 15. การจัดทํารายงานผลการ ตรวจสอบ แผน 24.99 วัน / 2 คน ผล 86.56 วัน / 4 คน การทําแผนคิดเฉพาะขาราชการ แตการปฏิบัติใช นวก.ตสน. และ เจาพนักงานธุรการซึ่งจาง บุคคลภายนอกดวย 16. การบริหารเงินงบประมาณ - การจายเงินไมคอยตรงกับแผนการใชจายเงินประจําป - เรงรัดจายเงินงบประมาณตอนปลายปเพื่อใหมียอด การใชจายใกลเคียงกับมติครม. - ผูบริหารควรใหความสําคัญตอ การเตรียมความพรอม เพื่อลงนาม ในสัญญา การบริหารสัญญา และการจายเงินตามสัญญา ทั้งนี้โดยคํานึงถึงคุณภาพงาน ประกอบดวย

References

Related documents

Figure 5.33 displays the quantified results for air velocity and temperature for the St 50 (spanwise thickness = 50mm) model. With respect to the airside axial thermal

for small name-scarabs. T H E usual material is variously termed been mineralogically identified by all tests, especially stea-schist, fibrous steatite, or schist. It varies

Thermal management is increasingly becoming a challenge in the electronics industry, as rapid advancements in computational performance are accompanied by a

CLOUD EDI KEEPS YOUR BUSINESS RUNNING SMOOTHLY—VITAL AT A TIME WHEN HAVING A NIMBLE, PROACTIVE PARTNER IS A PRIORITY FOR RETAILERS. MAKE YOUR BUSINESS AN OMNICHANNEL SUCCESS

This study employed a representative survey of GB energy bill payers to investigate the role of trust, privacy concern and locus of control in acceptance of a range of DSR

• To reduce the coupling impedance and to increase the frequency of the trapped mode higher than bunch form factor, the button size and the vacuum seal should be reduced by about

Without prejudice to any damages that may result from this, in the event that the Preferred Supplier would fail to meet its obligation to specify by email any Locational

Regions Code Description 0 United States Completions Year 2013 Jobs Timeframe 2013 - 2014 Datarun 2014.3 – QCEW Employees... Appendix A - Data Sources