• No results found

แผนพ ฒนาบ คลากรมหาว ทยาล ยพะเยา (พ.ศ )

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "แผนพ ฒนาบ คลากรมหาว ทยาล ยพะเยา (พ.ศ )"

Copied!
166
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

แผนพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยพะเยา

(พ.ศ. 2558 – 2561)

(2)

ค าน า

แผนพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2558 – 2561 นี้ จัดท าขึ้นภายใต้กรอบ นโยบายและทิศทางการบริหารมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2558 - 2561 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัยพะเยา ทั้งในระดับมหาวิทยาลัย ระดับส่วนงานวิชาการ และระดับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย ซึ่งประกอบไปด้วยข้อมูลพื้นฐาน ของมหาวิทยาลัยพะเยา ข้อมูลและสถิติบุคลากรมหาวิทยาลัยพะเยา และรายละเอียดของ แผนการพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2558 - 2561 การจัดท าแผนพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยพะเยานี้ ได้ให้ความส าคัญต่อนโยบาย การบริหารงานของอธิการบดีมหาวิทยาลัยพะเยา และสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา มหาวิทยาลัยตามปณิธาน “ปัญญาเพื่อความเข้มแข็งของ ชุมชน” และวิสัยทัศน์ที่ว่า “มหาวิทยาลัยพะเยา มุ่งเน้นพัฒนาไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ ( Comprehensive

University) ที่รับใช้สังคม (Community Engagement) มุ่งเน้นปฏิบัติภารกิจด้านการผลิตบัณฑิต ที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐานสากล สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community)

และพัฒนาองค์ความรู้สู่ชุมชนให้เข้มแข็งและสังคมเป็นสุข จะเป็นรากฐานที่ส าคัญของการพัฒนา ประเทศ ให้น าไปสู่การแข่งขันได้แบบยั่งยืนในประชาคมโลก” รวมทั้งรองรับตามมาตรฐานและตัว บ่งชี้คุณภาพของส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) มาตรฐานและตัวบ่งชี้ของ ส านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) และเกณฑ์หรือนโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กองการเจ้าหน้าที่ ส านักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยพะเยา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2558 - 2561 นี้ จะสามารถพัฒนาบุคลากรของ มหาวิทยาลัยให้มีคุณภาพ ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยพะเยา ดร.นายแพทย์วิชัย เทียนถาวร รองอธิการบดี

(3)

สารบัญ

หน้า ค าน า 2 บทที่ 1 บทน า 1.1 ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยพะเยา 5 1.2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ ค่านิยมร่วม และพันธกิจ 6 1.3 โครงสร้างองค์กรของมหาวิทยาลัยพะเยา 10 1.4 โครงสร้างการบริหารงานของมหาวิทยาลัยพะเยา 11 1.5 คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยพะเยา 12 บทที่ 2 ข้อมูลและสถิติบุคลากรมหาวิทยาลัยพะเยา 2.1 สภาพปัจจุบันด้านบุคลากรของมหาวิทยาลัยพะเยา 13 2.2 จ านวนบุคลากร จ าแนกตามสายงาน 13 2.3 จ านวนบุคลากร จ าแนกตามคุณวุฒิ 14 2.4 จ านวนบุคลากร จ าแนกตามต าแหน่งทางวิชาการ 15 2.5 จ านวนผู้รับทุนและจ านวนผู้ลาศึกษาต่อ 16 2.6 จ านวนพนักงานมหาวิทยาลัยที่จะเกษียณอายุในปีงบประมาณ 17 พ.ศ. 2557 – 2561 2.7 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการบริหารงานด้านบุคลากร 18 2.8 การวิเคราะห์ความต้องการก าลังคนของมหาวิทยาลัยพะเยา 23 บทที่ 3 แผนการพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2558 - 2561 3.1 เหตุผลและความจ าเป็น 27 3.2 วัตถุประสงค์ของการจัดท าแผนพัฒนาบุคลากร 27 3.3 ประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาบุคลากร 28 3.4 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยพะเยา 29 ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2558 – 2561) 3.5 ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และค่านิยมร่วมของมหาวิทยาลัยพะเยา 52

(4)

สารบัญ (ต่อ)

หน้า 3.6 แผนการการจัดสรรทุนการศึกษาให้กับบุคลากรของมหาวิทยาลัยพะเยา 57 ประจ าปีงบประมาณ 2558 – 2561 3.7 แนวทางการพัฒนาบุคลากรตามสมรรถนะของมหาวิทยาลัยพะเยา 57 บทที่ 4 มาตรการและกลไกในการติดตามประเมินผลและการปรับแผนพัฒนาบุคลากร 4.1 การติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานตามโครงการ 62 4.2 ตัวบ่งชี้ และค่าเป้าหมายของแผนพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยพะเยา 63 พ.ศ.2558-2561 ภาคผนวก มาตรฐานก าหนดต าแหน่ง ตัวแบบสมรรถนะ (Competency Model) มหาวิทยาลัยพะเยา

(5)

บทที่ 1 บทน า 1.1 ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยพะเยา มหาวิทยาลัยพะเยา ก่อนได้รับการยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยในก ากับของรัฐ ได้อยู่ภายใต้ การดูแลของมหาวิทยาลัยนเรศวร ซึ่งได้ตระหนักถึงความส าคัญของการกระจายโอกาส และการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ประกอบกับมหาวิทยาลัยได้พิจารณาร่วมกับ ผู้ว่าราชการจังหวัดและสมาชิกผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา รวมทั้งผู้แทนจากภาครัฐและเอกชน ในการแก้ปัญหาเรื่องรายได้และการศึกษาของประชากรในจังหวัดพะเยา ซึ่งโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับต่ า จึงได้จัดโครงการกระจายโอกาสทางการศึกษาสู่จังหวัดพะเยาขึ้น เพื่อตอบสนองนโยบายของ ทบวงมหาวิทยาลัย ที่สนับสนุนให้มหาวิทยาลัยขยายเขตการศึกษาออกสู่ภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงค์ หลักเพื่อยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต ทบวงมหาวิทยาลัยจึงได้พิจารณาน าเสนอ คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบ ต่อมาคณะรัฐมนตรี ในคราวประชุมเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ.2539 ได้มีมติให้ใช้ชื่อว่า วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา ซึ่งการจัดการเรียนการสอนระยะเริ่มแรก ได้ใช้อาคารของโรงเรียนพะเยาพิทยาคมเป็นการชั่วคราว ส าหรับสถานที่ตั้งถาวร มหาวิทยาลัย นเรศวร ได้ร่วมกับทางจังหวัดพะเยาจัดหาสถานที่ตั้ง ณ บริเวณต าบลแม่กา อ าเภอเมือง จังหวัด พะเยา ประกอบด้วยที่ดินจ านวน 5,727 ไร่ เมื่อการก่อสร้างได้แล้วเสร็จ จึงได้ย้ายมาสถานที่ ตั้งถาวร และเปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 เป็นต้นมา ต่อมา เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.2550 ในคราวประชุมครั้งที่ 13 (4/2550) สภามหาวิทยาลัยนเรศวร ได้มีมติให้เปลี่ยนชื่อ “มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขตสารสนเทศพะเยา” เป็น “มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา” เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ.2553 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ.2553 ขึ้น และ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ.2553 จึงถือได้ว่า มหาวิทยาลัยพะเยา ได้แยกออกจากมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยในก ากับของรัฐ ที่ไม่เป็นส่วนราชการ อย่างเต็มรูปแบบ ถือได้ว่าเป็นข่าวที่น่ายินดีส าหรับชาวจังหวัดพะเยา ที่มีสถาบันอุดมศึกษาที่มี คุณภาพผ่านการผลิตบัณฑิตและมหาบัณฑิตออกมารับใช้สังคมและประเทศชาติอย่างมากมาย ด้วยการน าของอธิการบดีและคณะผู้บริหารที่มีประสบการณ์และวิสัยทัศน์ที่รุดไปข้างหน้าอย่าง ไม่หยุดยั้ง เพื่อให้มหาวิทยาลัยพะเยาเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบอย่างแท้จริง

(6)

1.2 ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ ค่านิยมร่วม และพันธกิจ ปรัชญา

“ชีวิตที่เป็นอยู่ด้วยปัญญา ประเสริฐที่สุด” หรือ “ปญฺญาชีวี เสฏฐชีวี นาม” “A Life of Wisdom Is the Most Wondrous of All”

ปณิธาน

ปัญญาเพื่อความเข้มแข็งของชุมชน” หรือ “Wisdom for Community Empowerment วิสัยทัศน์

“มหาวิทยาลัยพะเยา มุ่งเน้นการพัฒนาไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) รับใช้สังคม (Community Engagement) มุ่งปฏิบัติภารกิจด้านการผลิต บัณฑิตที่มีคุณภาพสู่ประชาคมอาเซียน (Asean Economic Community) และได้มาตรฐานสากล พัฒนาองค์ความรู้สู่ชุมชนให้ชุมชนเข้มแข็งและสังคมเป็นสุข จะเป็นรากฐานที่ส าคัญของการพัฒนา ประเทศ เพื่อให้น าไปสู่การแข่งขันได้อย่างยั่งยืนในประชาคมโลก

วัตถุประสงค์ (จุดเน้น) ร่วมกันทั้งมหาวิทยาลัย (Core purposes) 5 ประการ

1. เพื่อจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้นิสิตอยู่และเรียน (Live and Learn) อย่างมีความสุข จบ ไปมีงานท า และเป็นคนดีของสังคม

2. เพื่อท าการท าวิจัยที่เน้นปัญญารวมหมู่ (Collective Intelligence) เคียงคู่ชุมชน (สนับสนุน แนวคิด OUOP –One University One Province)

3. เพื่อบริการวิชาการ โดยเน้นการใช้ปัญญารวมหมู่ เพื่อพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชน (Community Empowerment) 4. เพื่อท านุบ ารุงภูมิปัญญา ศิลปะ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น (Local Wisdom) สู่สากล 5. เพื่อบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และยึดมั่นในธรรมาภิบาล (Good Governance) ค่านิยมร่วมกันทั้งมหาวิทยาลัย (Core Value) ใช้ค่านิยมร่วมกันทั้งมหาวิทยาลัย (Core Values) โดยยึดหลักคิด 7 ประการ เพื่อให้เกิด วัฒนธรรมองค์กร ที่มีความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน (Mutual Trust) เกิดเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) และท าให้เกิดความเป็นสากล (Internationalization) ซึ่งจะสอดรับ ส่งเสริม และเป็นปัจจัยแห่งความส าเร็จของปณิธานและวัตถุประสงค์ ประกอบด้วย

(7)

1. Competence- หลักความรู้ความสามารถ (ให้ความส าคัญกับผู้ที่มีความสามารถ สูงเป็นอันดับแรกก่อนเสมอ) (จึงเป็นหน้าที่ของทุกคนในองค์กรที่จะต้องช่วยกันยกระดับความรู้ ความสามารถของตนเองให้ดียิ่งขึ้นตลอดเวลา) (เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้เกิด Competitiveness และ Leadership) 2. Freedom – หลักเสรีภาพ (มีเสรีภาพที่จะคิดที่จะท างานให้บรรลุวัตถุประสงค์ ของมหาวิทยาลัย) (เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้เกิด Excellence) (ท าให้เกิดความเป็นเลิศที่หลากหลาย ตามที่ตนเองถนัดหรือเชี่ยวชาญ) 3. Justice – หลักความถูกต้อง ยุติธรรม (มีความถูกต้องและยุติธรรมในหัวใจตลอด เวลา) (มีคุณธรรมและจรรยาบรรณ) (ท าให้เกิดความเคารพนับถือ และความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและ กัน) 4. Generosity – หลักความมีน้ าใจ (มีน้ าใจช่วยเหลือเกื้อกูลกัน โดยให้ถือเป็น “สิทธิ” ของผู้ที่อ่อนแอกว่าที่จะได้รับความช่วยเหลือและเป็น “หน้าที่” ของผู้ที่เข้มแข็งกว่าที่จะต้องให้ การช่วยเหลือ) (ท าให้เกิดวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข)

5. Team Learning and Working หลักการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และท างานเป็นทีม (เน้นการเรียนรู้จากการท างานและการด าเนินชีวิต) (ท าให้เกิดปัญญารวมหมู่)

6. Shared Vision – หลักการมีเป้าหมายร่วมกัน (มีเป้าหมายในการท างานร่วมกัน) (ท าให้เกิดพลังสามัคคี) (ท าให้เกิดเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้)

7. Local and Global Spirit - หลักความเชื่อมโยงระหว่างชุมชนและสากล (ยึดคติ “องค์ความรู้ที่ผลิตและที่ใช้เป็นระดับสากล ส่วนจิตวิญญาณอยู่ที่การรับใช้ชุมชนและสังคมไทย”) (ท าให้เกิดความเป็นสากล หรือ Internationalization) พันธกิจ มหาวิทยาลัยพะเยา มุ่งกระจายโอกาสและสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาให้กับ ประชาชนในเขตภาคเหนือตอนบน 7 จังหวัด ได้แก่ พะเยา แพร่ นาน ล าพูน ล าปาง เชียงราย แม่ฮ่องสอน และภูมิภาคอื่นด้วย โดยจัดการเรียนการสอนในสาขาที่เป็นความต้องการของท้องถิ่น ภูมิภาค และประเทศ เพื่อให้ผู้ส าเร็จการศึกษามีงานท า ทั้งกลุ่มสาขาทางด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี กลุ่มสาขาทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ และกลุ่มสาขาทางด้านสังคมศาสตร์ ซึ่งมี พันธกิจที่ส าคัญ 5 ด้าน ดังนี้

(8)

1. ด้านการผลิตบัณฑิต มหาวิทยาลัยพะเยามีภารกิจหลักที่ต้องท าการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกระดับ ให้ สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF) โดยมุ่งเน้นการสร้างบัณฑิตให้มี คุณธรรม จริยธรรม มีความรู้ มีทักษะทางปัญญา มีทักษะทางความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ มีทักษะทางการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้สามารถท างานได้ทุกแห่งทั่วโลก โดยจะต้องพัฒนาศักยภาพและความสามารถของอาจารย์ ควบคู่ไปกับการพัฒนามาตรฐานทางด้านวิชาการด้วย การจัดการศึกษาในอนาคตมองว่าจะต้องหา วิธีการและรูปแบบที่หลากหลายยิ่งขึ้น ดังนั้น จึงต้องสนับสนุนการจัดการศึกษาต่อเนื่อง ให้ ครอบคลุมทั้งกลุ่มเป้าหมายก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน ซึ่งจะต้องปรับปรุงรูปแบบ และวิธีการสอน รวมทั้งเนื้อหาสาระให้เท่าทันการพัฒนาทางวิชาการ และวิชาชีพในสาขาวิชาต่างๆด้วย 2. ด้านการวิจัย มหาวิทยาลัยพะเยามุ่งส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่มี รูปแบบซับซ้อนขึ้น เช่น การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี เพื่ออุตสาหกรรมสมัยใหม่ที่ใช้ทุนปัญญา มากกว่าทุนแรงงาน หรือวัตถุดิบ การวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากร การฟื้นฟูและการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การวิจัยเชิงอุตสาหกรรม การวิจัยด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ และการพัฒนา ระบบบริการด้านสาธารณสุข ตลอดจนการวิจัยเพื่อการพัฒนาสังคม เป็นต้น โดยมหาวิทยาลัยได้ให้ ความส าคัญในการแก้ปัญหาของชุมชนและมุ่งเน้นการวิจัยพื้นฐานโดยควบคู่ไปกับการวิจัยประยุกต์ ในสาขาต่างๆให้มีประสิทธิภาพ เพื่อน าไปสู่การเรียนการสอนที่มีประสิทธิผล และมีคุณภาพชีวิตของ ชุมชนที่ดี ตลอดจนเพิ่มขีดความสามารถในการพึ่งพาตนเองได้อย่างแท้จริงในระยะยาว โดยจะต้อง สร้างผู้น าในการวิจัยให้สามารถด าเนินการในลักษณะหุ้นส่วนหรือการสร้างเครือข่ายกับสถาบันที่มี ชื่อเสียงทั้งในและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาคุณภาพนักวิจัยให้น าไปสู่ความเป็นเลิศได้เร็วขึ้น 3. ด้านการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยพะเยามุ่งเน้นการบริการวิชาการในรูปแบบที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น เช่น การ บริการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพชีวิต โดยอาศัยองค์ความรู้จากชุมชนร่วมกับ บุคลากรของมหาวิทยาลัย การบริการทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข การให้บริการบาง ประเภท โดยใช้ศักยภาพของชุมชนและวัสดุเหลือใช้มาท างานวิจัยเพื่อสร้างมูลค่าให้กับชุมชน โดย สร้างความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตภาคเหนือตอนบน และองค์กรภาคเอกชน เพื่อช่วยในการสร้างจุดแข็งและการยอมรับของสังคมโดยทั่วไป

(9)

4. ด้านการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยพะเยามุ่งพัฒนาการผสมผสานทางวัฒนธรรม และการมีส่วนร่วมในประชาคม โลกทางด้านเศรษฐกิจ โดยการท านุบ ารุงและอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมของสังคมไทย เป็นรากฐานของ การพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ ซึ่งรวมถึงการศึกษาความเป็นไทยให้เข้าใจอย่างถ่องแท้เพื่อน าไปสู่การ สงวนและรักษาความแตกต่างทางประเพณีและวัฒนธรรม ตลอดจนการอยู่ร่วมกันในประชาคมโลก อย่างมีเอกลักษณ์และศักดิ์ศรี โดยเสริมสร้างวัฒนธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ให้เกิดขึ้นกับบุคคล องค์กร และสังคม โดยเป็นเป้าหมายส าคัญที่ต้องด าเนินการ 5. ด้านการบริหาร มหาวิทยาลัยพะเยาต้องพัฒนาไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพ และได้มาตรฐานใน ระดับสากล โดยการพัฒนาให้เป็นมหาวิทยาลัยรับใช้สังคม (Community Engagement) และให้ได้รับ การยอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติ การปฏิบัติภารกิจไม่ว่าจะเป็นการผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ และการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม จะตั้งเป้าหมายให้น าไปสู่ความมั่นคงและ ความยั่งยืนของเศรษฐกิจ สังคม สุขภาวะ พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยยึดหลัก ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และธรรมาภิบาลเป็นส าคัญ

(10)

1.3 โครงสร้างองค์กรของมหาวิทยาลัยพะเยา โครงการจัดตั้งศูนย์ภาษา โครงการจัดตั้งศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศภาคเหนือ กองกลาง กองการเจ้าหน้าที่ กองกิจการนิสิต กองคลัง กองแผนงาน กองอาคารสถานที่ กองบริหารงานวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา กองบริการการศึกษา ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศูนย์ให้บริการและสนับสนุนนิสิตพิการ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ โครงการจัดตั้งศูนย์ศิลปวัฒนธรรมล้านนา (ไต) ศูนย์เครื่องมือกลาง ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจมหาวิทยาลัยพะเยา(UPBI) ศูนย์เครือข่ายความร่วมมือเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่แบบ สร้างสรรค์(ABC) ศูนย์สัตว์ทดลอง อุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา วิทยาลัยการจัดการ วิทยาลัยการศึกษา วิทยาลัยพลังงานและ สิ่งแวดล้อม วิทยาเขตเชียงราย หน่วยตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยพะเยา หน่วยงานระดับกองและมีฐานะเทียบเท่ากอง ส่วนงานอื่น (คณบดี) ส่วนงานวิชาการ ส่วนงานริหาร (ผู้อ ำนวยกำ รกอง/ศูนย์) ส านักงานสภามหาวิทยาลัยพะเยา วิทยาลัย (คณบดี) คณะ (คณบดี) คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะศิลปศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และ ศิลปกรรมศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ ศูนย์การแพทย์และ โรงพยาบาล มหาวิทยาลัยพะเยา

(11)

1.4 โครงสร้างการบริหารงานของมหาวิทยาลัยพะเยา นายกสภามหาวิทยาลัยพะเยา รองอธิการบดี อธิการบดีมหาวิทยาลัยพะเยา (ผู้อ ำนวยกำรกอง/ศูนย์) กรรมการสภามหาวิทยาลัยพะเยาผู้ทรงคุณวุฒิ รองอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร รองอธิการบดีฝ่ายกิจการนิสิต รองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ

(12)

1.5 คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยพะเยา อธิการบดีมหาวิทยาลัยพะเยา ประธานกรรมการ รองอธิการบดี กรรมการ ผู้ช่วยอธิการบดี กรรมการ หัวหน้าส่วนงานวิชาการ กรรมการ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ กรรมการและเลขานุการ ผู้อ านวยการกองกลาง ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้อ านวยการกองบริการการศึกษา ผู้ช่วยเลขานุการ

(13)

บทที่ 2 ข้อมูลและสถิติบุคลากรมหาวิทยาลัยพะเยา 2.1 สภาพปัจจุบันด้านบุคลากรของมหาวิทยาลัยพะเยา ปัจจุบันมหาวิทยาลัยพะเยา มีบุคลากรทั้งสิ้น 1,624 คน (ข้อมูล ณ เดือนสิงหาคม 2557) โดยมีบุคลากรสายวิชาการ จ านวน 909 คน และบุคลากรสายบริการ 715 คน ดังนี้ จ านวนบุคลากร จ าแนกตามสายงาน ด้านบุคลากร สายวิชาการ สายบริการ รวม ผู้บริหาร 15 - 15 ผู้ทรงคุณวุฒิ 30 1 31 ผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษ 41 - 41 ผู้เกษียณอายุราชการ 4 4 8 พนักงาน 814 689 1,503 พนักงานราชการ - 13 13 ลูกจ้างชั่วคราว 5 8 13 รวม 909 715 1,624

(14)

จ านวนบุคลากร จ าแนกตามคุณวุฒิ บุคลากร/วุฒิการศึกษา ต่ ากว่า ปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญา เอก รวม สายวิชาการ - 128 510 271 909 สายบริการ 59 448 204 4 715 รวม 59 576 714 275 1,624

(15)

จ านวนบุคลากร จ าแนกตามต าแหน่งทางวิชาการ บุคลากร/ต าแหน่งทางวิชาการ ผศ. รศ. ศ. รวม ผู้บริหาร - 6 1 7 ผู้ทรงคุณวุฒิ 1 14 3 18 ผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษ 7 6 1 14 ผู้เกษียณอายุราชการ - 2 1 3 พนักงาน 39 6 - 45 พนักงานราชการ - - - 0 ลูกจ้างชั่วคราว - - - 0 รวม 47 34 6 87

(16)

จ านวนผู้รับทุนและจ านวนผู้ลาศึกษาต่อ ระดับ ต่างประเทศ ในประเทศ รวม ปริญญาเอก 59 110 169 ปริญญาโท 8 37 45 ปริญญาตรี - 2 2 รวม 67 149 216

(17)

จ านวนพนักงานมหาวิทยาลัย ที่จะเกษียณอายุในปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - 2561

บุคลากร/ปีงบประมาณ 2558 2559 2560 2561

สายวิชาการ 1 2 2 1

สายบริการ - 1 - 1

(18)

2.2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการบริหารงานด้านบุคลากร การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของการบริหารงานบุคลากร เป็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายใน ประกอบด้วย การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อนในการบริหารงานบุคคล และการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมภายนอก ประกอบด้วย การวิเคราะห์โอกาส และอุปสรรคในการบริหารงานบุคคล โดยได้มีการระดมสมองบุคลากรระดับบริหารและระดับปฏิบัติการของทุกส่วนงานในมหาวิทยาลัย ร่วมกันวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้งกล่าว โดยมีผลการวิเคราะห์ดังตารางต่อไปนี้ 2.1.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้านการบริหารจัดการ (Management) จุดแข็ง(S) จุดอ่อน(W) โอกาส(O) อุปสรรค(T) ม ห า วิ ท ย า ลั ย มี ก า ร ก า ห น ด น โ ย บ า ย ก า ร บริหารงานบุคลากรไว้ อย่างชัดเจน และมีการ ขับเคลื่อนตามนโยบาย อย่างต่อเนื่อง มีการแปลงนโยบายไปสู่ ก า รปฏิบัติ ไ ด้ไ ม่เต็ม ที่ เนื่องจากเป็นหน่วยงาน ใหม่ที่อยู่ในช่วงเริ่มต้นการ จัดองค์กรและจัดคนเข้า ท างาน ใ น ยุค ปั จ จุ บัน มี ค น ที่ มี ควา มรู้คว ามส ามารถ จ า น ว น ม า ก ท า ใ ห้ มหาวิทยาลัย มีโอกาส คัดเลือกคนที่มีความรู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ เ ข้ า ม า ท างาน นโ ยบา ยภา ค รัฐ มีก า ร จ ากัดอัตราก าลัง ท าให้ มหาวิทยาลัยขาดแคลน อัตราบุคลากร ผู้บริหารมหาวิทยาลัยให้ ค ว า ม ส า คั ญ กั บ ก า ร พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ทั้ ง การศึก ษาต่อ ใ นระดั บ ปริญญาเอก และการขอ ต าแหน่งทางวิชาการ ม ห า วิ ท ย า ลั ย มี ทุ น สนับสนุนการศึกษาต่อ จ ากัด และอาจารย์ส่วน ใหญ่บรรจุใหม่ จึงท าให้มี ก า ร ข อ ต า แ ห น่ ง ท า ง วิชาการจ านวนน้อย มหาวิทยาลัยสามารถ ข อ รั บ ก า ร ส นั บ ส นุ น ทุนการศึกษาจากแหล่ง ทุนภายนอกได้ มีสถาบันการศึกษาใหม่ เกิดขึ้นหลายแห่ง และมี สถาบันการศึกษาเก่าที่ เป็นคู่แข่งในการขอรับการ สนับสนุนทุนการศึกษา

(19)

2.2.2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ด้านคน (Man) จุดแข็ง(S) จุดอ่อน(W) โอกาส(O) อุปสรรค(T) ผู้ บ ริ ห า ร ง า น บุ ค ค ล ระดับสูงของมหาวิทยาลัย เ ป็ น ผู้ มี ค ว า ม รู้ ค ว า มส า มา รถ แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ก า ร บริหารงานบุคคล มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ผู้บริหารระดับสูงที่ดูแล ด้านการบริหารงานบุคคล อาจท าให้การขับเคลื่อน นโยบายบางอย่างล่าช้า สถาบันอุดมศึกษาไทยให้ ความส าคัญต่อการ พัฒนาบุคลากร และมี โครงการ/กิจกรรมพัฒนา บุคลากรระดับบริหาร หลายอย่าง มหาวิทยามีบุคลากรที่ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ า น ก า ร บริหารงานบุคคลส่วน ใ ห ญ่ เ ป็ น ผู้ มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ แ ล ะ มี ประสบการณ์สูง บุ ค ล า ก ร ที่ ท า ห น้ า ที่ บริหารงานบุคคลของส่วน งานบางส่วนงานที่เป็น พนักงานใหม่ และยังไม่มี ความรู้ความช านาญด้าน การบริหารงานบุคคล กระแสโลกให้ความส าคัญ ต่อการพัฒนาทุนมนุษย์ ผู้ ปฏิบัติหน้าที่ด้านบุคลากร จึ ง มี โ อ ก า ส ไ ด้ รั บ ก า ร พัฒนา

(20)

2.2.3 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ด้านเงิน (Money) จุดแข็ง(S) จุดอ่อน(W) โอกาส(O) อุปสรรค(T) มหาวิทยาลัยพะเยามีการ จั ด ส ร ร ง บ ป ร ะ ม า ณ ส นั บ ส นุ น ก า ร พั ฒ น า บุคลากรอย่างต่อเนื่อง ม ห า วิ ท ย า ลั ย มี งบประมาณจ ากัด จึงไม่ เพียงพอต่อการพัฒนา บุคลากรทุกคน มีแหล่งทุนสนับสนุนการ พัฒนาบุคลากรหลายแห่ง ที่มหาวิทยาลัยสามารถ ขอรับการสนับสนุนได้ มหาวิทยาลัยพะเยามีการ จั ด ส ร ร ง บ ป ร ะ ม า ณ สนับสนุนการศึกษาต่อ ของพนักงานสายวิชาการ อย่างต่อเนื่อง งบประมาณทุนการศึกษา ยัง ไ ม่เ พี ย ง พ อ ต่อ ก า ร สนับสนุนการศึกษาต่อ ของอาจารย์ได้ครบตาม ความต้องการในช่วงเวลา ต่าง ๆ มี แ ห ล่ ง ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า ภ า ย น อ ก ห ล า ย แ ห่ ง ที่ มหาวิทยาลัยสามารถ ขอรับการสนับสนุนได้

(21)

2.2.4 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมด้าน เครื่องมืออุปกรณ์ (Machine) จุดแข็ง(S) จุดอ่อน(W) โอกาส(O) อุปสรรค(T) มห าวิทยา ลัยพะ เยา มี เครื่องมือ อุปกรณ์ และ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ที่ สนับสนุนการปฏิบัติงาน ข อ ง บุ ค ล า ก ร อ ย่ า ง ค ร บ ถ้ ว น แ ล ะ มี ประสิทธิภาพ บุคลากรบางส่วนยังขาด ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร ใ ช้ ง า น เครื่องมือ อุปกรณ์ และ เทคโนโลยี และอุปกรณ์ บางส่วนหมดอายุการใช้ งานแล้ว มีเทคโนโลยี เครื่องมือ และอุปกรณ์สมัยใหม่ที่ สามารถท างานได้รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพสูง เทคโนโลยี เครื่องมือ และ อุปกรณ์สมัยใหม่มีราคา สูง และมีการเปลี่ยนแปลง รุ่ น อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว ต า ม กระแสเทคโนโลยี ท าให้ มหาวิทยาลัยไม่สามารถ จัดซื้อจัดหามาได้มากนัก

(22)

2.2.5 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ด้านศีลธรรม (Morality) จุดแข็ง(S) จุดอ่อน(W) โอกาส(O) อุปสรรค(T) มหาวิทยาลัยพะเยามีการ จั ด ท า ระ เ บีย บว่ า ด้ ว ย คุณธรรมจริยธรรมของ พนักงานไว้อย่างชัดเจน และมีการเผยแพร่ ท า ความเข้าใจแก่บุคลากร อย่างต่อเนื่อง มีบุคลากรบางส่วนที่ไม่ เข้าใจ และไม่ปฏิบัติตาม ระเบียบว่าด้วยคุณธรรม จริยธรรมของพนักงาน มีกฎหมาย ระเบียบ และ เกณฑ์ที่เกี่ยวข้องด้าน คุณธรรมจริยธรรมของ หน่วยงานภายนอกหลาย แห่งที่น ามาปรับใช้กับ มหาวิทยาลัยได้

(23)

2.3 การวิเคราะห์ความต้องการก าลังคนของมหาวิทยาลัยพะเยา การวิเคราะห์ความต้องการก าลังคนของมหาวิทยาลัยพะเยา เป็นการศึกษาวิเคราะห์จ านวน อัตราก าลังของบุคลากรในปัจจุบัน และแผนความต้องการเพิ่มก าลังคนในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - 2561 เพื่อใช้เป็นแผนการจัดหาก าลังคนมาปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยพะเยา ดังตาราง ต่อไปนี้ 2.3.1 ความต้องการบุคลากรสายวิชาการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - 2561 คณะ / สาขาวิชา จ านวน บุคลากร ปัจจุบัน ความต้องการเพิ่ม (ปีงบประมาณ) รวม ต้องการ เพิ่ม รวม ทั้งสิ้น 2558 2559 2560 2561 คณะศิลปศาสตร์ 130 2 2 สาขาวิชาพัฒนาสังคม 12 1 2 สาขาวิชาภาษาจีน 12 _ _ สาขาวิชารัฐศาสตร์ 17 _ _ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 49 1 _ สาขาวิชาภาษาไทย 17 _ _ สาขาวิชาญี่ปุ่น 10 _ _ สาขาวิชาฝรั่งเศส 8 _ _ คณะนิติศาสตร์ 36 10 7 สาขาวิชานิติศาสตร์ 36 10 7 คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ 63 21 12 สาขาวิชาการบัญชี 12 - - สาขาวิชาท่องเที่ยว 10 - - สาขาวิชาประชาสัมพันธ์ 9 1 1 สาขาวิชาการจัดการธุรกิจ 9 2 2 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ 10 4 1 สาขาวิชาสื่อสารสื่อใหม่ 5 1 1 สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร 4 1 - สาขาวิชาการตลาด 4 1 1 สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 0 2 - สาขาวิชาธุรกิจการบิน 0 5 2 สาขาวิชาการโรงแรม 0 2 2 สาขาวิชาการสื่อสารการตลาด 0 2 2 คณะวิทยาศาสตร์ 91 6 3 สาขาวิชาเคมี 22 2 - สาขาวิชาชีววิทยา 16 - -

(24)

คณะ / สาขาวิชา จ านวน บุคลากร ปัจจุบัน ความต้องการเพิ่ม (ปีงบประมาณ) รวม ต้องการ เพิ่ม รวม ทั้งสิ้น 2558 2559 2560 2561 สาขาวิชาฟิสิกส์ 12 1 1 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 17 - - สาขาวิชาสถิติ 7 - - สาขาวิชาอุตสาหกรรมเคมีและเทคโนโลยีวัสดุ 5 1 - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา 12 2 2 คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 53 11 9 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 10 3 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 11 - - สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 9 - - สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 2 2 สาขาวิชาภูมิสารสนเทศศาสตร์ 9 - - สาขาวิชาวิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร 3 - - สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ 5 - - สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กราฟฟิกและมัลติมีเดีย 0 2 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เกมส์และแอนิเมชั่น 0 2 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ 0 2 2 คณะวิศวกรรมศาสตร์ 44 0 0 สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า 11 - - สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล 10 - - สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา 12 - - สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 11 - - วิทยาลัยพลังงานและสิ่งแวดล้อม 21 0 0 สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 8 - - สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 7 - - สาขาวิชาพลังงานทดแทน 6 - - คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ 41 5 4 สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ (พืชศาสตร์) 11 - - สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ (สัตวศาสตร์) 4 1 1 สาขาวิชาประมง 8 - - สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ 7 1 - สาขาวิชาความปลอดภัยทางอาหารในธุรกิจเกษตร 2 2 1 สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 9 1 2 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ 25 12 6 สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ 14 - -

(25)

คณะ / สาขาวิชา จ านวน บุคลากร ปัจจุบัน ความต้องการเพิ่ม (ปีงบประมาณ) รวม ต้องการ เพิ่ม รวม ทั้งสิ้น 2558 2559 2560 2561 สาขาวิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์บัณฑิต 9 2 - สาขาวิชาศิลปะการแสดง 0 2 1 สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน 2 2 1 สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม 0 2 1 สาขาวิชาดุริยางค์ศาสตร์ 0 2 1 สาขาวิชาสถาปัตยกรรมเมืองและชุมชน 0 2 2 คณะเภสัชศาสตร์ 45 0 0 สาขางวิชาบริบาลเภสัชกรรม 45 - - คณะแพทยศาสตร์ 42 14 5 สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอนามัยสิ่งแวดล้อม 7 2 - สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ แขนงวิชาอนามัยชุมชน 16 4 - สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 5 2 3 สาขาวิชาเวชกิจฉุกเฉิน 1 2 - สาขาวิชาแพทยศาสตร์บัณฑิต 13 - - สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ 0 3 1 สาขาวิชาแพทย์แผนจีน 0 1 1 คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ 66 1 1 สาขาวิชาจุลชีววิทยา 21 - 1 สาขาวิชาชีวเคมี 21 - - สาขาวิชาสรีรวิทยา 10 - - สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์ 14 - - สาขาวิชาโภชนาการและโภชนบ าบัด 0 1 - คณะพยาบาลศาสตร์ 37 0 0 สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ 37 - - คณะสหเวชศาสตร์ 39 5 2 สาขาวิชาเทคนิคการแพทย์ 23 - - สาขาวิชากายภาพบ าบัด 16 - - สาขาวิชารังสีเทคนิค 0 5 2 คณะทันตแพทยศาสตร์ 5 1 0 สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ 5 1 - รวมทั้งสิ้น 738 88 51

(26)

2.3.2 ความต้องการบุคลากรสายบริการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 - 2561 หน่วยงาน / กอง / คณะ จ านวน บุคลากร ปัจจุบัน ความต้องการเพิ่ม (ปีงบประมาณ) รวม ต้องการ เพิ่ม รวมทั้งสิ้น 2558 2559 2560 2561 หน่วยตรวจสอบภายใน 6 1 - โครงการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ 10 - - โครงการจัดตั้งศูนย์ศิลปวัฒนธรรมฯ (ไต) 3 - - โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา 7 4 1 กองแผนงาน 19 1 1 กองกลาง 31 1 1 กองการเจ้าหน้าที่ 55 1 - กองกิจการนิสิต 32 2 2 กองคลัง 34 4 - กองบริการการศึกษา 36 2 2 กองบริหารงานวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา 17 1 2 กองอาคารสถานที่ 26 1 1 คณะเกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ 25 1 - คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 15 2 1 คณะเภสัชศาสตร์ 12 2 - คณะแพทยศาสตร์ 33 5 5 คณะนิติศาสตร์ 9 2 1 คณะพยาบาลศาสตร์ 17 2 - คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ 11 1 - คณะวิทยาศาสตร์ 32 2 1 คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ 21 1 - คณะวิศวกรรมศาสตร์ 26 - - คณะศิลปศาสตร์ 8 3 1 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ 7 2 2 คณะสหเวชศาสตร์ 15 2 - คณะทันตแพทยศาสตร์ 8 3 3 วิทยาเขตเชียงราย 5 2 2 วิทยาลัยการศึกษาต่อเนื่อง 9 - - วิทยาลัยพลังงานและสิ่งแวดล้อม 13 2 1 ศูนย์ให้บริการและสนับสนุนนิสิตพิการ 4 - - ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา 12 2 2 ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 30 2 2 ส านักงานสภามหาวิทยาลัยพะเยา 8 1 - รวมจ านวนบุคลากรสายบริการ 596 55 31

(27)

บทที่ 3 แผนการพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2558 -2561 3.1 เหตุผลและความจ าเป็น ทรัพยากรบุคคล ถือเป็นทรัพย์สินที่มีค่าและมีความส าคัญอย่างยิ่งที่จะท าให้องค์กรทั้งหลาย ประสบความส าเร็จได้อย่างยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคของการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและ สลับซับซ้อนอย่างในปัจจุบัน ท าให้ยากต่อการคาดหมายมากขึ้นเรื่อย ๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และเทคโนโลยี ที่ส าคัญยิ่งไปกว่านั้นคือ การแข่งขันที่รุนแรงขึ้นทั้งภายในประเทศและคู่แข่งขัน จากต่างประเทศ องค์กรต่างๆจึงต้องให้ความส าคัญกับการพัฒนาบุคลากรขององค์กร เพื่อให้เป็น เครื่องมือเชิงกลยุทธ์ที่จะช่วยผลักดันความส าเร็จและสามารถสร้างคุณค่าขององค์กรให้เกิดขึ้นได้อย่าง ยั่งยืน มหาวิทยาลัยพะเยาได้เห็นถึงความส าคัญด้านการพัฒนาบุคลากร โดยมุ่งเน้นความเป็นเลิศด้าน คุณภาพของบุคลากร อันเป็นกลไกส าคัญในการขับเคลื่อนองค์กรไปสู่ความก้าวหน้า โดยเฉพาะการ พัฒนาทักษะและความช านาญในวิชาชีพ ให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ และน ามาปรับใช้ในการพัฒนาองค์กรได้อย่างเหมาะสม สนับสนุนให้ บุคลากรเพิ่มพูนความรู้อย่างต่อเนื่อง และส่งเสริมให้สามารถถ่ายทอดความรู้การปฏิบัติงานไปยัง บุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องได้ จึงได้จัดท าแผนพัฒนาบุคลากร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 – 2561 ส าหรับใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการงานด้านทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาบุคลากรให้ สามารถผลักดันการด าเนินงานของมหาวิทยาลัยให้บรรลุผลส าเร็จตามที่ก าหนดต่อไป 3.2 วัตถุประสงค์ของการจัดท าแผนพัฒนาบุคลากร 1. เพื่อพัฒนาระบบการพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยพะเยาให้มีความเข้มแข็ง สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ และสามารถขับเคลื่อนไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ ของมหาวิทยาลัย 2. เพื่อจัดท าแผนการจัดหาและพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยพะเยาและใช้เป็นกรอบหรือ แนวทางในการบริหารงานบุคคลให้มีประสิทธิภาพ 3. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการพิจารณา ควบคุม ก ากับ และจัดสรรอัตราก าลังให้หน่วยงาน ต่างๆภายในมหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามเป้าหมายของแผนพัฒนาบุคลากรมหาวิทยาลัยพะเยา 4. เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลส าหรับการวางแผนในการพัฒนาก าลังคนในด้านการศึกษาต่อ วิจัย ฝึกอบรม ดูงาน ฯลฯ

(28)

5. เพื่อพัฒนาค่านิยมร่วมของบุคลากรมหาวิทยาลัยพะเยาให้เกิดวัฒนธรรมองค์กร ที่มีความไว้ เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน (Mutual Trust) เกิดเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) และท า ให้เกิดความเป็นสากล (Internationalization) ซึ่งจะสอดรับ ส่งเสริม และเป็นปัจจัยแห่งความส าเร็จของ ปณิธานและวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัยพะเยา 3.3 ประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาบุคลากร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 บ้านน่าอยู่ ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ และ 18 ตัวชี้วัด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 งานได้ผล ประกอบด้วย 23 กลยุทธ์ และ 27 ตัวชี้วัด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 คนเป็นสุข ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ และ 5 ตัวชี้วัด

(29)

3.4 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยพะเยา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2558 – 2561) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 บ้านน่าอยู่ กลยุทธ์ มาตรการ ตัวบ่งชี้/ค่าเป้าหมาย แผนปฏิบัติการ โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลาด าเนินการ ผู้รับผิดชอบ 57 58 59 60 61 1.ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรม สร้างความสัมพันธ์และความ สุขร่วมกันภายใต้หลักการ Healthy Workplace เพื่อท าให้ มห า วิ ท ย า ลั ย พ ะ เ ย า เ ป็ น องค์กรที่น่าอยู่ 1.สะอาด 1.1 การสร้างความตระหนัก ใ น เ รื่ อ ง ก า ร รั ก ษ า ค ว า ม สะอาดให้กับทุกหน่วยงาน ภายในมหาวิทยาลัยรวมถึง สถานประกอบการภายใน มหาวิทยาลัย 1.2 รักษาความสะอาดสิ่ง อ านวยค วา มสะ ดวก ในที่ สาธารณะ เช่น โรงอาหาร โรงจอดรถ ห้องน้ า สวน ฯลฯ 1.จ านวนหน่วยงานที่เข้าร่วม โครงการ Big Cleaning Day 100% 2.จ านวนกิจกรรมที่ส่งเสริม ความสะอาดในที่ท างานและ สถานประกอบการภายใน มหาวิทยาลัย 3.ระดับความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการหน่วยงานหรือ สถานประกอบการภายใน มหาวิทยาลัยต่อความสะอาด ข อ ง ห น่ ว ย ง า น / ส ถ า น ประกอบการ 4.ระดับความพึงพอใจของ ผู้ใช้บริการสิ่งอ านวยความ สะดวกในที่สาธารณะ

1.โครงการ Big Cleaning Day 2. กิจ ก รร ม ส่ง เ สริ ม ค ว า ม สะอาดในที่ท างานและสถาน ป ร ะ ก อ บ ก า ร ภ า ย ใ น มหาวิทยาลัย 3.โครงการตรวจความสะอาด ร้านค้าและสถานประกอบการ ภายในมหาวิทยาลัยพะเยา      กองอาคาร สถานที่ ทุกหน่วยงาน กองการ เจ้าหน้าที่และ คณะ แพทยศาสตร์ (ปีละ 2 ครั้ง) (ตลอดทั้งปี) (ตลอดทั้งปี)

References

Related documents

Note: You can define touch screen settings using the MT 7.11 Control Panel.. MT 7.11 stores the touch screen settings in the Windows®

z Changing the paper source to feed different types/sizes of paper If you load plain paper in the Cassette and photo paper in the Auto Sheet Feeder, changing the paper source

6 Maintain Printer : Accesses the HP Inkjet Utility where you can clean and align the print cartridges, check print cartridge ink levels, print a test or sample page, register

inserting 17 replacing 17 storing 18, 38 testing 36 printer accessories 7, 39 cleaning 35 connecting 33 documentation 3 error messages 48 menu 8 parts 4 power problems 43

ink level, checking 17 inserting 17 replacing 17 storing 18, 42 testing 40 printer accessories 9, 42 cleaning 39 connecting 35 documentation 3 error messages 53 menu 10 parts 4

At Step 5 if you did not click the “After Printer Installation, install GARO Status Monitor” checkbox on, eject the CD-ROM from the computer, select “Yes, I want to restart

Higher Secondary education and completed higher vocational training in procurement, commercial and mercantile law, supply chain management, inventory management, logistics

a) To be key student ambassadors for Missouri HOSA. b) To serve as the primary link between students and the state office. c) Exhibit strong leadership qualities. d) Be able to