• No results found

องค การบร หารส วนต าบลจะโหนง อ าเภอจะนะ จ งหว ดสงขลา

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "องค การบร หารส วนต าบลจะโหนง อ าเภอจะนะ จ งหว ดสงขลา"

Copied!
7
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

แผนจัดการความรู้

องค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนง

อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

 

(2)

แผนการจัดการความรู้

องค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนง ปีงบประมาณ 255๗

1.บทนํา การจัดการความรู้เป็นกิจกรรมการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ใน ตัวบุคคลหรือเอกสารมาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้ เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด องค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนงเป็นที่รวมของบุคลากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ที่ หลากหลาย ดังนั้นการจัดการความรู้ที่มีอยู่เหล่านั้นตามแนวคิดระบบบริหารความรู้ในองค์กรจึงเป็นสิ่งที่จะ ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างยิ่งต่อองค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนงและจะสามารถพัฒนาไปสู่การเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ ซึ่งจะเป็นการสร้างจิตสํานึกของบุคลากรในการพัฒนาตนเองและพัฒนากลุ่มอย่างต่อเนื่อง มีการ แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ร่วมแสวงปัญหาและสร้างสรรค์กิจกรรมที่มีคุณค่า สร้าง มูลค่าเพิ่มให้แก่องค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนง องค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนงได้จําแนกความรู้ที่จําเป็นต่อการผลักดันความสําเร็จในงาน ประจํา และดําเนินการคัดเลือกองค์ความรู้จํานวน ๑ กระบวนงาน มาดําเนินการจัดทําแผนจัดการความรู้ ประจําปีงบประมาณ๒๕๕๗ ได้แก่การจัดทําแผนอัตรากําลัง๓ปี ๑.๑คณะทํางานการจัดการความรู้ เพื่อให้การจัดการความรู้ขององค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนง ประจําปีงบประมาณ ๒๕๕๗ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยจึงแต่งตั้งคณะทํางานการจัดการความรู้ ดังนี้

๑. ผู้บริหารด้านการจัดการความรู้ Chief Knowledge Officer : CKO ได้แก่

นายเสถียร ประทุมมณี ตําแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนง มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ ๑) เป็นผู้ทบทวนและให้ความเห็นชอบแผนการจัดการความรู้ ๒) ให้การสนับสนุนในด้านต่าง ๆ เช่น ทรัพยากรที่จําเป็นต่อการจัดทําแผนการจัดการ ความรู้ การดําเนินการตามแผนการจัดการความรู้เป็นต้น ๓) ให้คําปรึกษาแนะนําและร่วมประชุมเพื่อการตัดสินใจแก่คณะทํางานจัดการความรู้ ๔) ให้คําปรึกษาเกี่ยวกับแนวทางการแก้ปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับคณะทํางาน การจัดการความรู้ ๒. หัวหน้าคณะทํางานการจัดการความรู้ ได้แก่ นายอนุชิต จุลิวรรณลีย์ ตําแหน่ง ปลัดองค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนง มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ ๑) จัดทําแผนการจัดการความรู้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเสนอผู้บริหารด้าน การจัดการความรู้ (CKO) ในการทบทวนและให้ความเห็นชอบแผนการจัดการความรู้ ๒) รายงานผลการดําเนินงานและความคืบหน้าของการดําเนินกิจกรรมตามแผนการ จัดการความรู้ให้ผู้บริหารด้านการจัดการความรู้ (CKO) ทราบ

(3)

๒ ๓) ผลักดันการดําเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ให้บรรลุผลสําเร็จตามเป้าหมาย ที่กําหนด ๔) ติดตามความก้าวหน้าและประเมินผลการดําเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ เพื่อหาแนวทางแก้ไข ๓. คณะทํางานการจัดการความรู้ ได้แก่ ๑) นางกนิษฐา ศิริจันทพันธ์ ตําแหน่ง ผู้อํานวยการกองคลัง ๒) นายสายัณ เพ็งจันทร์ ตําแหน่ง ผู้อํานวยการกองช่าง ๓) นางละม้าย ยอดขวัญ ตําแหน่ง หัวหน้าสํานักงานปลัด ๔) นางสุรัสดา พรหมวิจิตร ตําแหน่ง หัวหน้าส่วนการศึกษาศาสนาและ วัฒนธรรม มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ ๑) ร่วมจัดทําแผนการจัดการความรู้ ๒) ดําเนินงานตามแผนการจัดการความรู้ที่ได้รับมอบหมาย ๓) จัดทํารายงานผลความคืบหน้าของผลการดําเนินงานตามแผนการจัดการความรู้ในส่วน ที่รับผิดชอบ ๔) เป็นแบบอย่างที่ดีในการมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการความรู้ ๕) เป็นผู้นําหลัก (Master Trainer) ในการถ่ายทอดหลักการและกรอบแนวทางการจัดการ ความรู้ให้บุคลากรในองค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนง ได้ตระหนักถึงความสําคัญและเข้ามามีส่วนร่วมใน กระบวนการจัดการความรู้มากขึ้น ๖) ดําเนินการอื่นๆตามที่ได้รับมอบหมาย ๔. ฝ่ายเลขานุการคณะทํางาน ได้แก่ นางกุลนิษฐ์ แก้วบุปผาตําแหน่ง บุคลากร มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้ ๑) ร่วมจัดทําแผนการจัดการความรู้ ๒) นัดประชุมคณะทํางานการจัดการความรู้และจัดทํารายงานการประชุมคณะทํางาน เกี่ยวกับการกําหนดกรอบแนวทางในการจัดทําแผนการจัดการความรู้และการติดตามประเมินผลความคืบหน้า ของการดําเนินการในกิจกรรมต่างๆที่กําหนดในแผนการจัดการความรู้ ๓) รวบรวมและสรุปรายงานความคืบหน้าของการดําเนินการตามแผนการจัดการความรู้ ๔) สรุปผลวิเคราะห์ปัจจัยแห่งความสําเร็จ ปัญหาอุปสรรค และแนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อ ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการความรู้ให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ๕) ประสานงานกับหัวหน้าคณะทํางานและคณะทํางานการจัดการความรู้ ๖) ดําเนินการอื่นๆตามที่ได้รับมอบหมาย

(4)

1.2.ขอบเขต KM (KM Focus Area) คณะทํางานจัดการความรู้ องค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนง ได้พิจารณาจําแนกความรู้ที่ จําเป็นต่อการผลักดันความสําเร็จของงานที่เป็นงานประจําของหน่วยงานในสังกัดจํานวน๑หน่วยงาน คือสํานักงานปลัดโดยมีกระบวนงานที่สําคัญ๕กระบวนงานประกอบด้วย ๑. การจัดทําแผนอัตรากําลัง๓ปี ๒. การจัดทําข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปี ๓. การจัดทําแผนพัฒนา๓ปี ๔. การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุผู้พิการและผู้ป่วยเอดส์ ๕. การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ขอบเขตของ KM ที่จะเลือกดําเนินการให้แล้วเสร็จภายในงบประมาณประจําปีพ.ศ.255๗ คือการจัดทําแผนอัตรากําลัง๓ปี

1.๓ ปัจจัยแห่งความสําเร็จ (Key Success Factor)

ปัจจัยแห่งความสําเร็จ (Key Success Factor) เพื่อให้ดําเนินการจัดการความรู้ตาม เป้าหมาย KM สามารถนําไปปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรมภายในองค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนงคือ ๑. การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง ขององค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนง ๒. ความมุ่งมั่นของผู้บริหารและพนักงาน ๓. การสร้างแรงจูงใจในการสนับสนุนด้านงบประมาณ ๔. พนักงานส่วนตําบลทุกคนให้ความร่วมมือในการที่จะเข้าร่วมโครงการ      

(5)

แผนการจัดการความรู้ขององค์การบริหารส่วนตําบลจะโหนงปีงบประมาณ ๒๕๕๗ อําเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ๒. องค์ความรู้ที่จําเป็นเรื่องการจัดทําแผนอัตรากําลัง๓ ปี ที่ กิจกรรม ระยะเวลา กลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ เอกสารที่แสดงผลสําเร็จของ งาน 1 การประชุมระดมความคิดเห็นเพื่อ ตรวจสอบองค์ความรู้ที่ต้องใช้ในการ จัดทําแผนอัตรากําลัง๓ปี -ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) -ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) ก.ค. ๕๗ -คณะทํางานการจัดการ ความรู้ -เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านการจัดทําแผน อัตรากําลัง๓ปี จํานวนรายการองค์ ความรู้ที่บ่งชี้และ ตรวจสอบว่าเป็นองค์ ความรู้ที่ใช้ในการจัดทํา แผนอัตรากําลัง๓ปี อย่างน้อย๒รายการ องค์ความรู้เช่น ๑. กฎหมายระเบียบ หนังสือสั่งการที่ เกี่ยวข้องกับการจัดทํา แผนอัตรากําลัง๓ปี ๒. ขั้นตอนการ ดําเนินการจัดทําแผน อัตรากําลัง๓ปี นางกุลนิษฐ์ แก้วบุปผา รายงานการประชุม คณะทํางานการจัดการความรู้ ที่ระบุ -องค์ความรู้ที่ใช้ในการจัดทํา แผนอัตรากําลัง๓ปีและ ที่มาขององค์ความรู้ว่า สามารถหาได้จากที่ไหนเช่น เอกสารระเบียบคู่มือการ ทํางานที่เกี่ยวข้อง/Internet/ การถ่ายทอดจากตัวบุคคล ๒ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบประเภท ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) โดยการจัดกลุ่มเอกสารที่หามาได้จาก เอกสารระเบียบคู่มือการทํางานที่ เกี่ยวข้อง/Internet ส.ค. ๕๗ -พนักงานและพนักงาน จ้างสํานักงานปลัดทุก คน -เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านการจัดทําแผน อัตรากําลัง๓ปี ระดับความสําเร็จในการ จัดทําสรุปองค์ความรู้ ประเภทความรู้ที่ชัด แจ้ง (Explicit Knowledge) มีสรุปองค์ความรู้ที่ รวบรวมได้จากเอกสาร ระเบียบคู่มือการทํางาน ที่เกี่ยวข้อง/Internet นางกุลนิษฐ์แก้วบุปผา เอกสารที่รวบรวมองค์ความรู้ จากระเบียบคู่มือการทํางาน ที่เกี่ยวข้อง/Internet

(6)

ที่ กิจกรรม ระยะเวลา กลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ เอกสารที่แสดงผลสําเร็จของ งาน ๓ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบประเภท ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) โดยการจัดประชุมหรือสอบถามผู้ที่มี ความรู้ในการจัดทําแผนอัตรากําลัง๓ปี ส.ค. ๕๗ -พนักงานและพนักงาน จ้างสํานักงานปลัดทุก คน -ผู้ที่มีความรู้ในการ จัดทําแผนอัตรากําลัง๓ ปี ระดับความสําเร็จในการ จัดทําสรุปองค์ความรู้ ประเภทความรู้ที่ฝังอยู่ ในคน (Tacit Knowledge) มีสรุปองค์ความรู้ที่ รวบรวมได้จากผู้ที่มี ความรู้ในการจัดทําแผน อัตรากําลัง๓ปี นางกุลนิษฐ์ แก้วบุปผา รายงานการประชุมหรือ สรุปผลองค์ความรู้ที่ได้มาจาก การประชุมหรือสอบถามผู้ที่ มีความรู้ในการจัดทําแผน อัตรากําลัง๓ปี ๔ การจัดทําร่างคู่มือที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เรื่องการจัดทําแผนอัตรากําลัง๓ปี (โดยการนําเอกสารตามข้อที่๒และ๓มา รวบรวมเพื่อจัดทําเป็นร่างคู่มือ) ส.ค. ๕๗ -พนักงานและพนักงาน จ้างสํานักงานปลัดทุก คน -เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านการจัดทําแผน อัตรากําลัง๓ปี ระดับความสําเร็จในการ จัดทําร่างคู่มือที่ใช้ใน การปฏิบัติงาน มีร่างคู่มือเพื่อใช้ในการ ปฏิบัติงานการจัดทํา แผนอัตรากําลัง๓ปี นางกุลนิษฐ์ แก้วบุปผา ร่างคู่มือเพื่อใช้ในการ ปฏิบัติงานการจัดทําแผน อัตรากําลัง๓ปี ๕ จัดประชุมคณะทํางานการจัดการความรู้ เพื่อพิจารณากลั่นกรองตรวจสอบ กลั่นกรองเนื้อหาร่างคู่มือที่ใช้ในการ ปฏิบัติงาน ก.ย. ๕๗ -คณะทํางานการจัดการ ความรู้ -พนักงานและพนักงาน จ้างสํานักงานปลัดทุก คน -เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านการจัดทําแผน อัตรากําลัง๓ปี -ผู้ที่มีความรู้ในการ จัดทําแผนอัตรากําลัง๓ ปี ระดับความสําเร็จในการ พิจารณาตรวจสอบ กลั่นกรองเนื้อหาร่าง คู่มือที่ใช้ในการ ปฏิบัติงาน มีคู่มือเพื่อใช้ในการ ปฏิบัติงานการจัดทํา แผนอัตรากําลัง๓ปีที่ ผ่านการพิจารณา กลั่นกรองแล้ว นางกุลนิษฐ์ แก้วบุปผา คู่มือเพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน การจัดทําแผนอัตรากําลัง๓ ปี

(7)

ที่ กิจกรรม ระยะเวลา กลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด เป้าหมายตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบ เอกสารที่แสดงผลสําเร็จของ งาน ๖ ประชาสัมพันธ์เผยแพร่คู่มือการ ปฏิบัติงานผ่านทาง ๑) หนังสือแจ้งเวียนภายในหน่วยงาน ๒) นําคู่มือเผยแพร่เว็บไซต์ของหน่วยงาน ก.ย. ๕๗ -ข้าราชการพนักงาน ส่วนตําบลและพนักงาน จ้างในสังกัดทุกคน ระดับความสําเร็จในการ ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ คู่มือการปฏิบัติงาน มีเอกสารการ ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ คู่มือการปฏิบัติงาน นางกุลนิษฐ์ แก้วบุปผา -หนังสือแจ้งเวียนภายใน หน่วยงาน -นําคู่มือเผยแพร่เว็บไซต์ของ หน่วยงาน  

References

Related documents

Before your product can memorize the available channels, you must select your Product signal source, Air (using an aerial) or Cable.. Select Air or

Rine (Rine, 1997) while through object technology (technology of the MetaBase) as well as reuse methodology the high quality tested models (software) are already developed (from the

 Teach a wide range of undergraduate/graduate computer science courses: Intro to Computers, Data Structure and Algorithms, Operating Systems, Database Management, Data

Further, the European Banking Authority issued its opinion on virtual currencies and identified more than 70 related risks, including risks to:.. •

IN TERMS OF EARNINGS, THERE IS NO GUARANTEE THAT YOU WILL EARN ANY MONEY USING THE TECHNIQUES AND IDEAS IN THIS MATERIAL OR ON THIS WEBSITE. INFORMATION PRESENTED ON THIS WEBSITE

The work carried out in this paper: (1) Discusses the results obtained for Global solar radiation by different methods and compares them to the 22- year average data from NASA [25];

On the other hand, neural network techniques were used to model satisfactorily the hourly values of diffuse radiation combining the clearness index with some environmental

In this study, the multilayered feed-forward network architecture with 6 input nodes after feature selection of the input data, 15 hidden nodes and 1 output nod have been used for