• No results found

โครงการอบรมส มมนาการจ ดท าค าใช จ ายผลผล ต ตามแนวทางของส าน กงบประมาณ ประจ าป งบประมาณ พ.ศ. 2550

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "โครงการอบรมส มมนาการจ ดท าค าใช จ ายผลผล ต ตามแนวทางของส าน กงบประมาณ ประจ าป งบประมาณ พ.ศ. 2550"

Copied!
93
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)โครงการอบรมสัมมนาการจัดทําคาใชจายผลผลิต ตามแนวทางของสํานักงบประมาณ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2550. 2 กรกฎาคม 2550 สํานักมาตรฐานตนทุนงบประมาณ สํานักงบประมาณ. 1.

(2) หัวขอการบรรยาย 1.หลักการและเหตุผลการจัดทํา คาใชจายผลผลิต 2. ขั้นตอนการจัดทําคาใชจายผลผลิต ตามแนวทางของสํานักงบประมาณ 3. บรรยายและสาธิตการใชโปรแกรม การจัดทําคาใชจายผลผลิต. 2.

(3) หลักการและเหตุผล การจัดทําคาใชจายผลผลิต •การจัดทําคาใชจายผลผลิตของสํานักงบประมาณและ ตนทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง •การวิเคราะหโครงสรางผลผลิต •แนวทางการนําคาใชจายผลผลิตไป ใชในการจัดทํางบประมาณ. 3.

(4) ระบบงบประมาณ & ระบบตนทุน. ผลลัพธ (Outcome) ระบบงบประมาณแบบรายการ (Line Item). ระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงาน (PBB). วัสัยทัศน/พันธกิจ/ วัตถุประสงค(VMO). ผลผลิต (Output) กิจกรรม (Process). ปจจัยนําเขา (Input). ตนทุนสัมฤทธิภาพ (Cost Effective) ตนทุนผลผลิต (Output Base Costing) ตนทุนกิจกรรม (Activity Base Costing) ตนทุนตอหนวย/ รายการ (Line Item). 4.

(5) ทําไมสํานักงบประมาณจึงตองทําคาใชจาย ผลผลิต – เปนขอมูลคาใชจายพื้นฐานระดับผลผลิต – เปนเครื่องมือในการพิจารณางบประมาณ – การจัดสรรงบประมาณมีความประหยัด โปรงใส เปนธรรม และมี เหตุมีผลยิ่งขึ้น – เชื่อมโยงระหวางนโยบาย ยุทธศาสตร การดําเนินงาน ผลผลิต – แสดงความสัมพันธระหวางแผนการดําเนินงาน/แผนการใชจายเงิน ไดอยางชัดเจนยิ่งขึ้น. 5.

(6) ประโยชนของการคํานวณตนทุน • สําหรับหนวยงาน – ไดรับการจัดสรรงบประมาณที่ยุติธรรม และเสมอภาค – มีขอ  มูลชวยในการตัดสินใจในเรื่องการจัดสรรและการจัดการทรัพยากร มี ขอมูลใชสําหรับกําหนดราคาผลผลิตของหนวยงาน – ทําใหการสนับสนุนคาใชจายในองคกร มีความโปรงใส มากขึ้น – ใชเปนฐานขอมูล และการวิเคราะหแนวโนม. 6.

(7) ประโยชนของการคํานวณตนทุน (ตอ) •. สําหรับสํานักงบประมาณ – เปนขอมูลคาใชจายระดับผลผลิต อันจะนําไปใชในการกําหนดราคาในการจัดซื้อ บริการจากสวนราชการในอนาคต – เปนขอมูลในการตัดสินใจของผูบริหารฯ เกี่ยวกับ • การกําหนดราคาและคาธรรมเนียม • การจัดสรรงบประมาณไดครอบคลุมตนทุน ณ ระดับปริมาณ คุณภาพและเวลา ที่กําหนด • การเปรียบเทียบผลการดําเนินงานที่ไมใชตนทุน (ปริมาณ คุณภาพ และเวลา) กับผลดําเนินงานดานตนทุน • การประเมินเปาหมายกลยุทธในการนําสงผลผลิต (Strategic Delivery Target : SDT) • การเปรียบเทียบตนทุนของกิจกรรมหรือผลผลิตที่คลายคลึงกัน (Benchmarking). 7.

(8) ประโยชนของการคํานวณตนทุน (ตอ) •. สําหรับสํานักงบประมาณ (ตอ) – สามารถเชื่อมโยงระบบการงบประมาณเขากับแผนยุทธศาสตรไดทุกระดับ – การพิจารณางบประมาณของสวนราชการเปนไปอยางมีระบบ สอดคลองกับ ทรัพยากร กิจกรรมและเปาหมาย – การจัดทํางบประมาณมีประสิทธิภาพสามารถจัดทําไดในเวลารวดเร็ว เปนเหตุเปน ผล – การพิจารณางบประมาณไดรับการยอมรับจากสวนราชการมากขึ้น – เปรียบเทียบกับตนทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง. 8.

(9) คาใชจายผลผลิต/ตนทุนผลผลิต สํานักงบประมาณ -> BIS ->โปรแกรมคาใชจายผลผลิต. กรมบัญฃีกลาง -> GFMIS -> ระบบ CO. แผนการปฏิบต ั ิงาน. ผลการดําเนินงาน. แผนการใชจา  ยเงิน. ผลการใชจา  ยเงิน. เกณฑการกระจาย. ตนทุนโดยประมาณ. ตนทุนจริง. 9.

(10) ระบบตนทุนที่ใชในการคํานวณตนทุนผลผลิต ของสวนราชการ • ระบบตนทุนจริง (Actual Costing) ใชตนทุนการผลิตที่เกิดขึ้นจริงมาคํานวณตนทุนผลผลิต ไดแก ตนทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง • ระบบตนทุนโดยประมาณ (Estimated Costing) การกําหนดตนทุนขึ้นลวงหนาอยางมีหลักเกณฑ เพื่อให ทราบตนทนที่ควรจะเปน อันจะทําใหสามารถควบคุม ตนทุนและสามารถตัดสินใจได ไดแก คาใชจายผลผลิตของสํานักงบประมาณ. 10.

(11) การจัดทําคาใชจายผลผลิตของสํานักงบประมาณและ ตนทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง ตนทุนผลผลิต (บก.) - ดานนโยบาย. • •. คาใชจายผลผลิต (สงป.). พรฎ.วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหาร กิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ม.21 เพื่อทราบคาใชจายทั้งสิ้นที่ใชในการจัดทํา ผลผลิต อันจะนําไปใชในการจัดทําแผนปรับลด รายจายภาครัฐ. • •. - แนวทางการจัดทํา. •. คํานวณผานหนวยตนทุนสนับสนุนไปยังหนวย ตนทุนหลัก จากนัน ้ กระจายไปยังกิจกรรมหลัก และรวมเปนตนทุนผลผลิตในที่สุด. •. - แหลงที่มาของคาใชจาย. •. คาใชจายจริงที่สวนราชการเบิกจายใน ปงบประมาณที่ผานมา (6 เดือน/1ป) หรือจาก ระบบ GFMIS ตามศูนยตนทุน ##คํานวณคาใชจายที่ผานมา. •. ระเบียบวาดวยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 ขอ 7 เพื่อใชในการประกอบการพิจารณางบประมาณ อันจะนําไปสูการกําหนดราคาที่เหมาะสมในการ จัดซื้อสินคาหรือบริการจากหนวยงาน (ตนทุน เปาหมาย). คํานวณผานกิจกรรมสนับสนุน กิจกรรมรอง ไป ยังกิจกรรมหลัก และรวมเปนคาใชจายผลผลิต ในที่สุด. ใชงบประมาณรายจายประจําป ที่ผานสภาฯ แลว จําแนกตามรายกิจกรรมหลัก/รอง/ สนับสนุน (โครงสรางผลผลิต) ##คํานวณคาใชจายปถัดไป. 11.

(12) การจัดทําคาใชจายผลผลิตของสํานักงบประมาณและ ตนทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง (ตอ) ตนทุนผลผลิต (บก.) - วิธีการคํานวณ. คาใชจายผลผลิต (สงป.). •. เก็บรวบรวมคาใชจาย ณ หนวยตนทุน และ กําหนดเกณฑการกระจายคาใชจายเพียง เกณฑเดียว คํานวณตามแนวทางที่ บก.กําหนด. •. - เกณฑที่ใชในการคํานวณ. •. สวนราชการกําหนดเอง. •. - การกระจายคาใชจาย. •. การกระจายโดยตรง. คาใชจายทางออม • การกระจายแบบลําดับขั้น คาใชจายทางตรง • การกระจายโดยตรง. •. •. เก็บรวบรวมคาใชจาย ณ กิจกรรมหลัก/รอง/ สนับสนุน และกําหนดเกณฑการกระจายตาม แนวทางที่ สงป.กําหนด คํานวณผานโปรแกรมที่กําหนด กําหนดหลักเกณฑตามลักษณะรายจาย จํานวนบุคลากร -> งบบุคลากร วันเวลาทําการ -> งบดําเนินงาน ประมาณการใชฯ -> งบลงทุน. 12.

(13) การจัดทําคาใชจายผลผลิตของสํานักงบประมาณและ ตนทุนผลผลิตของกรมบัญชีกลาง (ตอ) ตนทุนผลผลิต (บก.) - รายงานการคํานวณ. •. รายงานตนทุนผลผลิตตอหนวย/ตนทุน กิจกรรมตอหนวย. คาใชจายผลผลิต (สงป.) • •. - ประโยชนที่ไดรับ. •. ทราบคาใชจายทั้งสิ้นที่ใชในการจัดทําผลผลิต ตอหนวย. • • • • •. รายงานคาใชจายผลผลิตตอหนวยจําแนกตาม แหลงเงิน กิจกรรม และงบรายจาย ฯลฯ. ทราบคาใชจายทั้งสิ้นที่ใชในการดําเนินจัดทํา ผลผลิตตอหนวย ทราบสัดสวนคาใชจายที่ใชในการจัดทํา ผลผลิต โดยแยกเปนแหลงเงิน กิจกรรม ทราบถึงสัดสวนของการจัดสรรทรัพยากร ทั้ง ในสวนของผลผลิต และกิจกรรม นํามาวิเคราะหเพื่อหาประสิทธิภาพของการ จัดสรรทรัพยากร ฯลฯ. 13.

(14) เหตุผลที่ไมสามารถนําตนทุนผลผลิตของ กรมบัญชีกลางมาใชในการจัดทํางบประมาณได • หลักการ กรมบัญชีกลาง. – ตนทุนที่เกิดขึ้นจะผันแปรตาม งบประมาณรายจายประจําปที่ผานมา และปจจัยแวดลอมในปนั้น ๆ. สํานักงบประมาณ – คาใชจายที่เกิดขึ้นจะผันแปร ตามนโยบาย ยุทธศาสตร กลยุทธของรัฐและปจจัยแวดลอม ของปงบประมาณถัดไปที่คาดวา จะดําเนินการ. 14.

(15) เหตุผลที่ไมสามารถนําตนทุนผลผลิตของ กรมบัญชีกลางมาใชในการจัดทํางบประมาณได (ตอ) • วัตถุประสงคในการจัดทํา กรมบัญชีกลาง. - เพื่อหาคาใชจายตอหนวยอันจะนําไปใช ในการจัดทําแผนการลดรายจายฯ ของภาครัฐ สํานักงบประมาณ – เพื่อใชในการวิเคราะห/ประกอบการพิจารณา และจัดทํางบประมาณ. • ฐานคาใชจายที่ใชในการจัดทํา กรมบัญชีกลาง. - ใชฐานรายจายจริงที่เกิดขึ้นใน ปงบประมาณที่ผานมา สํานักงบประมาณ - ใชคาใชจายที่ประมาณการ ลวงหนา โดยนํารายจายจริงที่ เกิดขึ้นในปปจจุบัน โดยนําคาใชจาย ตามยุทธศาสตรของรัฐบาล ดัชนีราคาตาม ภาวะเศรษฐกิจฯ มาพิจารณารวม. 15.

(16) เหตุผลที่ไมสามารถนําตนทุนผลผลิตของ กรมบัญชีกลางมาใชในการจัดทํางบประมาณได (ตอ) • มาตรฐานการกระจายคาใชจาย กรมบัญชีกลาง - ใหสวนราชการใชดุลยพินิจในการกําหนด เกณฑใดเกณฑหนึ่งเปนฐานในการกระจาย ทําใหตนทุนไมเปนมาตรฐานเดียวกัน สํานักงบประมาณ- กําหนดเกณฑการกระจาย ตามลักษณะการเบิกจาย เชน เบิกจายในลักษณะ งบบุคลากร ใหใชจํานวนบุคลากร ,งบดําเนินงาน ใชวันเวลาทําการ เปนตน. 16.

(17) เหตุผลที่ไมสามารถนําตนทุนผลผลิตของ กรมบัญชีกลางมาใชในการจัดทํางบประมาณได (ตอ) • ผลการจัดทําคาใชจายผลผลิต กรมบัญชีกลาง. - จะไดคาใชจายทั้งสิ้น/หนวย โดยไมจําแนกเปนแหลงเงินหรือ งบรายจาย. สํานักงบประมาณ- จะไดคาใชจาย/หนวย โดยจําแนกเปนเงินงบประมาณ เงิน นอกงบประมาณ และจําแนกตามงบ รายจาย. 17.

(18) สรุปเหตุผลที่ไมสามารถนําตนทุนผลผลิตของ กรมบัญชีกลางมาใชในการจัดทํางบประมาณได •. การนําคาใชจายผลผลิตไปใชในการจัดทํางบประมาณ กรมบัญชีกลาง - คาใชจายตอหนวยในภาพรวม ที่ไมแสดงแหลงเงินและ รายละเอียดคาใชจาย - สวนราชการกําหนดเกณฑเอง จึงไมเปนมาตรฐานเดียวกัน - จะเปรียบเทียบไดเฉพาะตนทุน ผลผลิต เทานั้น สํานักงบประมาณ - จัดทําเพื่อนําคาใชจายตอหนวยไป ใชในการวิเคราะหงบประมาณใน เชิงตนทุนประสิทธิภาพ/ตนทุน ประสิทธิผล อันจะนําไปใชใน การพิจารณางบประมาณ รายจายประจําป. 18.

(19) หลักการพื้นฐาน • ปจจัยนําเขา (Input) • กระบวนการผลิต (Process/Activity) • ผลผลิต (Output). Input. ทรัพยากรที่ใช (งบประมาณ +เงินนอกงบประมาณ) ไดแก -บุคลากร -อุปกรณ. Process กิจกรรมตาง ๆ ไดแก -กิจกรรมหลัก -กิจกรรมรอง -กิจกรรมสนับสนุน. คาใชจาย /งปม.. Output ผลผลิตตาม พันธกิจของแตละ สวนราชการ. 19.

(20) วัตถุประสงคหลักของการจัดทําคาใชจาย ผลผลิต • การนําคาใชจายผลผลิตไปใชประกอบการพิจารณา งบประมาณรายจายประจําป โดยคํานึงถึงความเรียบ งายในการจัดทํา และตองไมเปนการสรางภาระใหกับ สวนราชการมากนัก ทั้งนี้ จะตองสอดคลองกับระบบการ จัดการทางการเงินภาครัฐ (GFMIS) ระบบสารสนเทศ การงบประมาณ (BIS) ภายใตโครงสรางผลผลิต (Output Profile) GFMIS BIS Output Profile Output Costing. 20.

(21) การคํานวณคาใชจายผลผลิตคืออะไร ? • การคํานวณคาใชจายผลผลิต คือ กระบวนการวัดตนทุนของปจจัยนําเขาที่ใช ในการจัดทําผลผลิต. BC$) $C- )0 :0.'+S0Q.:=Q.T .. %&'( )*+,10# * National Strategic Delivery Target. ก - $?3.ก /01&2 $ , E Mapping the Intervention Logic. 

(22) #$%&'( )*+ Strategic Delivery Target ก ก2

(23) .1& $4=>ก .ก 34*?4,ก #&0: ก (the intervention). 

(24)  ก 

(25) ก  Service Delivery Targets. 3434* Outputs ก,-.ก  /01&2 3434* Processes. 3440:'+ The results. BIS. AMIS. Major Key Success Factors Key Success Factors. GFMIS. 3440:'+ The results. Key Performance Indicators. Output Performance (QQTC). BC$) $.>. C* D$ , E 2549  J.*.K. &0: ก Inputs. *0-#PQ-01 Indicators. Future Structure. Ev MIS. Fiscal year 2006 and further. 21.

(26) เงื่อนไขแหงความสําเร็จ •. ตองมีนโยบายที่ชัดเจน. •. ควรมีการทบทวนความหมาย/นิยาม และการจัดทําโครงสรางผลผลิตที่ถูกตอง ชัดเจน และสามารถนํามาคํานวณคาใชจายผลผลิตได. •. การกําหนดตัวชี้วัดเชิงปริมาณของกิจกรรม และผลผลิต ควรจะตองกําหนดใหมี ความหมายที่สื่อถึงกัน โดยเฉพาะหนวยนับควรเปนหนวยนับเดียวกัน. •. จัดทําฐานขอมูลเกี่ยวกับเกณฑการกระจายคาใชจาย ที่สํานักงบประมาณกําหนด ไดแก จํานวนบุคลากร วันเวลาทําการตามแผนฯ และอัตราการใชครุภัณฑ ฯ. •. การสะสมคาใชจายตามกิจกรรมหลัก/รอง/สนับสนุน ตองชัดเจน ถูกตอง. 22.

(27) การปรับปรุงคูมือการจัดทําคาใชจายผลผลิต ป 50 แนวทางฯ • •. ลดขั้นตอนการจัดทําคาใชจายผลผลิต เหลือ 3 ขั้นตอน เพิ่มตัวอยางการจัดทําคาใชจายผลผลิต. คูมือโปรแกรมฯ •. ระบบรายงาน. 23.

(28) แนวทางการนําคาใชจายผลผลิตไปใชใน การจัดทํางบประมาณ. สํานักมาตรฐานตนทุนงบประมาณ สํานักงบประมาณ. 24.

(29) แนวทางการจัดทําตนทุนผลผลิตของสํานัก งบประมาณ. 25.

(30) RoadMap การจัดทําคาใชจายผลผลิต •. ระยะที่ 1 ตนทุนของหนวยงาน (พ.ศ. 2550-52) - ใหจัดทําแยกจากระบบ BIS โดยพิจารณา เปรียบเทียบกับตนทุนของหนวยงานในปที่ผานมา. •. ระยะที่ 2 ตนทุนโดยเฉลี่ย (พ.ศ. 2553-54) - เปนสวนหนึ่งของระบบ BIS ใชเปรียบเทียบระหวางสวนราชการที่มี ผลผลิตเหมือนกันหรือคลายคลึงกัน. •. ระยะที่ 3 ตนทุนเปาหมาย (พ.ศ. 2555) นําขอมูลตนทุนในปงบประมาณที่ผานมา มากําหนดราคาที่รัฐจะ จัดซื้อผลผลิตจากสวนราชการ. 26.

(31) ระยะที่ 1 ตนทุนของหนวยงาน (พ.ศ. 2550-52) กระทรวง.......................... กรม................................ รายการ. คาใชจายผลผลิต ป 2550. ป 2551. ป 2552. คาใชจายผลผลิตของ หนวยงาน. ผลผลิตที่ 1....................... - งบบุคลากร - งบดําเนินงาน - งบลงทุน ... ผลผลิตที่ 2....................... - งบบุคลากร - งบดําเนินงาน - งบลงทุน .... 27.

(32) ระยะที่ 2 ตนทุนโดยเฉลี่ย (พ.ศ. 2553-54) กระทรวง........................... รายการ. คาใชจายผลผลิต กรม..... กรม.... กรม.... คาใชจายโดยเฉลี่ย. ผลผลิตที่ 1....................... - งบบุคลากร - งบดําเนินงาน - งบลงทุน .... ผลผลิตที่ 2....................... - งบบุคลากร - งบดําเนินงาน - งบลงทุน .... 28.

(33) ระยะที่ 3 ตนทุนเปาหมาย (พ.ศ. 2555) รายการ. คาใชจายผลผลิต กระทรวง..... กระทรวง.... กระทรวง.... ตนทุนเปาหมาย. กลุมผลผลิตที่ 1...... ผลผลิตที่ 1.1....................... - งบบุคลากร - งบดําเนินงาน - งบลงทุน .... ผลผลิตที่ 1.2....................... - งบบุคลากร - งบดําเนินงาน - งบลงทุน ... กลุมผลผลิตที่ 2............ .... 29.

(34) หลักการการนําขอมูลคาใชจายผลผลิตไปใช • คาใชจายผลผลิตเปนเพียงตัวชี้วัดเชิงปริมาณเทานั้น การวิเคราะห งบประมาณ ยังคงตองใชตัวชี้วัดอื่นรวมกันในการพิจารณาดวย • คาใชจายผลผลิตในมิติหนึ่งจะใชในวัตถุประสงคหนึ่ง เชน – ตนทุนคงที่/ผันแปร จะใชในการจัดทํางบประมาณ – ตนทุนทางตรงกับทางออม จะใชในการวัดประสิทธิภาพในการ ดําเนินงาน – ฯลฯ • การจัดทําคาใชจายผลผลิตจะเปนการจัดทําขอมูลในเชิงสถิติ จะตองมี การพัฒนาเปนลําดับ เพื่อใหไดขอมูลที่เปนที่ยอมรับและใกลเคียงกับ รายจายจริงที่เกิดขึ้น ดังนั้น ในระยะแรก ๆ อาจจะใชเพียงเพื่อ ประกอบการพิจารณางบประมาณ. 30.

(35) ก 

(36) 

(37) . ก ก

(38) . 1.

(39) ก • • • • •. / 

(40) ก  !ก"#ก  !ก"#ก 

(41) ก  !ก"#กก!ก $%# 

(42)  &

(43) / 

(44) ก/ก!ก  

(45) '&

(46) 

(47) . 2.

(48)   

(49)

(50) /ก ก !"

(51) #$%. . ก ก.

(52)

(53) .

(54) .  &  ก   

(55)   ก ก'#"

(56)

(57)  !()  ก   $  /   

(58)

(59)  *+)  ,  !-()  .#  !/ 0

(60)  (!23#0). 3.

(61)  -   •   "    ก $,) 5 " กก  !  .# 3 # & $6  0  ก3"   ก .# 3(.#ก-"7 ) 3( )ก"!()5-" ก3" กก !23#'#กก6 • . 

(62)  ก กกก    (ก  ) ก ก   ก ก  ! " #$%    " % ก    ก  &ก ก '( !" ( &ก ก '( !"). 4.

(63)  - 

(64)  ก • *       ก  +,"# -  ! กก   

(65)   &

(66)  • 

(67) 

(68)  .+ ก/ ก ก &

(69)  • 

(70) .+ ก.+ก!

(71) &

(72) ,"#ก ก0 !1

(73) ก,

(74) ,

(75) ก %ก0 %#,"#ก"#

(76) %  2,"#-  • "  ก 3*    + 4  ก   

(77) - $

(78)  '5.  ,' •  

(79) ก' , +  

(80) &  

(81)  *    '  ,    กก %ก ก. 5.

(82) ก ก

(83) ' (/

(84) * ก$%$%& INTERNAL OUTPUT. INTERMEDIATE OUTPUT. EXTERNAL OUTPUT. FINAL OUTPUT $%$%&. INPUT PROCESS 

(85)  กก (PROCESS ACTIVITY). PRODUCT. SERVICE. 6.

(86)  - $"1 6!

(87)  *$"1 6!

(88) 

(89) &

(90) ,"#ก/ ก ก  4 !  6!!กก $!&

(91) -  4  % 1.  - กก /  ก ก  

(92) #

(93) ,"# 4-$

(94)  :;#

(95) '*$! 2. '5. - กก / '5.

(96)  2 5, - '5.

(97) / #

(98) ,"# ก1*-2,"# &

(99)  ก  - '5.

(100) +"ก &

(101) /+"ก ก -ก& ก.;

(102) . ! 

(103) ก'&/ ,"#"&ก 3.  - ,"#ก  กก.%#- 4. & $!&/,' - ,' ก %& $!& ก. 7.

(104) &

(105) กก $"1 •  (-. +กก    &........., • !(#$-+ก  ............". %ก  

(106) ก(-./ก  ก& •

(107)  - 

(108)  ก กกก     +

(109) ก .................. •  /!- ก ก#

(110)  ./+

(111) $1/ .2./ก&," .

(112) 3' .ก

(113) ก4" ./. , " 

(114) 1/%1+. 8.

(115)  - กก  &

(116) &

(117)  • *

(118) &

(119) .+ก!,"#ก  ก0  !1

(120) ก,

(121) ,

(122) ก  %ก0 %# > ,"#ก"#

(123) • ;#

(124)  4&5  ;#

(125) ',+?  ก! 

(126) ,&1 & ;#

(127) ',+?  ก! 

(128)  4"-  • กก & $!&5  ก -,"#

(129) &

(130) 5 ก,

(131). 9.

(132) 

(133) ก -  . "  ก, 5 ก ./&"62

(134) $1/

(135) ก ก  ก2,"ก ก7 17ก %! /" 1 /ก 

(136) $1/&+ ก ก,ก   ก#ก  ก, 5 ก 2 7.ก&

(137) 8 

(138)   , 

(139)   ("7ก./, 2.กก& .2 &

(140) 4

(141)   ( !(#$

(142)   ,   2.2 ./ก&+

(143) ก ก $ 99 (&: 1$ 99 ( 

(144) $ /

(145)   1./ก&"62:(. 10.

(146) ก!ก -  5, 4;

(147) กก &

(148)  ก!ก ก. 1. ก!ก ก 2. ก!ก

(149) 3. ก!ก  '. 11.

(150) ก!ก - 5,

(151) ก!ก 1. ก!ก ก 1.1 * & ;#

(152) 

(153) กก!, &

(154)  1.2 *ก!ก,"# .+ กก',+ 

(155) &

(156)  1.3 ก" &

(157) $ ',+?  1 - ก

(158) 3  ก& 

(159)   ./ &    .    ก "  

(160)   ก&

(161) 3ก ก#.  ก"2 - ก

(162) 3  ก& 

(163)   ./  $  ' ,     ก  !  '<  ./ + !'<  ก"ก&

(164) 37ก#!' < 2=. 12.

(165) ก!ก - 5,

(166) ก!ก 2. ก!ก

(167) %6 ก กก&,  . /  ก#ก

(168) $1/  !ก &

(169)  ก ก ก. ' #$ 2.2 !ก ก ./&./7 3. ก ! ก   '  %6  ก  กก&  ก#  ก  %  &  ,    .  ,ก     ก  #ก 2.2 !ก ก  !./&  ./  !7. 13.

(170) 

(171)  ก/ก . ก2 (Impact). ก2. ,-. (Outcome). ,-..  (Output). . . .  2567 7. 9ก 8 ก. 9ก ก ก (Activity). ก6

(172)  ก-:ก ก8ก2:

(173) ก ; ก6 

(174)  ก7,-. 6ก2  

(175) =    ;8    > =    88= 9?. 25 7 กก  ก. กก  ก. กก  ก. ก ก. ก ก. ก ก. กก

(176)

(177) 

(178). กก

(179)

(180) 

(181). กก

(182)

(183) 

(184). ก ก ก กก ก ก  ก ก888. 14.

(185)   : 88 ก2 (Impact). ,-. (Outcome). ก2. ,-. . ,,-.-. . .  (Output).  : */-1

(186) 3กก 

(187) &/ ก ()  ก *4   : *11

(188) 561 ,

(189) & ก 7 $*. - !,)8

(190) -... .-6

(191) *:...  : 

(192) &$ ก ' ()*+

(193) ,ก 

(194) 

(195) 

(196) กก,

(197) -

(198) .& #  . : ก! "

(199)  /&,-  (ก 1

(200) ). 9ก 8 ก. 9ก ก ก (Activity).  : */-1

(201) 3

(202) ; < ;5 ;

(203)  <

(204) ก

(205) ;ก !3 *+

(206) 5*5 81 ก$ 1   : *11

(207) &'.!1 . กก  ก กก. กก  ก กก. กก

(208)

(209) 

(210). กก

(211)

(212) 

(213).  : ก

(214) 

(215) ก/ ก 

(216) ก   :  ก 

(217)  / ก  / ก  !

(218) / ! "

(219) #

(220) 

(221) $ !

(222) %%. 15.

(223) Bureau of The Budget :www.bb.go.th 16.

(224) ก 

(225)   !"

(226)  ก   #  $.&. 2550 ก  

(227)   ก . 1 1.

(228) ก "  

(229) *+ 1 "- ./0   !

(230) !ก ก    1.1 "- ./0   0ก. กก .ก/ กก  /กก   2 $3ก" ก @- . ก "ก . Inputs. Process.

(231) $ก   กA. กก .ก กก   กก  . ก  

(232)   ก . . Outputs   /  ก. 2 2.

(233) ก.. .BC 1. ก -กก  DC+-E (Product) . Iก .  ก (Service)

(234) *+-0." . 2. . I ก

(235)  M!ก .  ก 0  . I 0ก  "B +!. I+ก  -$I+N ก .  ก !ก  . I/ก 2ก." 3. *กP-E M3 . I"ก -N 0* "*"- Q-   2$ -" "

(236)   4. -E

(237) *+ก

(238) 3/."!-E  

(239) ก "ก  . Iก .  ก ก  

(240)   ก . 3 3.

(241) ก.กก .ก  !  "- ./ก -!กก !S  ก "ก  0!ก-E กก .ก .BC กก ก 

(242) !/0 ก 0 !กM  ก 2ก -E".C+ก "ก - ก - *ก  กก   .BC กก ก 

(243) !/ ก ."."2/ก -$I+ . ก -ก กก .ก*  

(244) 32$ -  ก .   กก   .BC กก ก "ก 2/ก .  B

(245) !/ ก 0 !กM  ก 2ก -  . ก

(246) "+ N ก  

(247)   ก . 4 4.

(248) ก  

(249)   ก . 5 5.

(250) ก  

(251)   ก . 6 6.

(252) 1.2 

(253) !ก ก   ก กก   กก   กก .ก ! 0 -I+0-  กก 

(254) *+. ก  กก I+ - *ก .  ก กก  -$I+ก  !  (Cascading/Step Allocation) 0 -กY/ก - * * -  . I.".  ก กก  [ กกN.  - "- 

(255) *+N กกN.  N กก   1 , 2, 3,...... - +-I+0- กกก  

(256) *+ 1

(257) *+N.  ก กก I+    !-I+0- กกก  BN -I+0- กกก  

(258) *+N.  ก กก .ก   !-I+0- กกก  BN -I+0- กกก .ก NM   ก  

(259)   ก . 7 7.

(260) ก  

(261)   ก . 8 8.

(262) ก ./0ก ก '1(23421. กก   .

(263)  ก . กก  . กก .ก.  /" ก #. ก - *ก   & /. ก

(264) ก  ก$%ก&. -!$ " M  ก "ก. ก  'ก()*. ก -$+"!Q!ก 

(265) "*$ MA.  +ก,-.  (+ก. - 

(266)    &"]3  ก - *ก   "

(267) & /A.  M - Qก &CกP  & /. ก .  ก "ก. 

(268)    &"]3 . M - Qก &CกP  "

(269) & /A. $%ก&ก . . #. ก  

(270)   ก . 9 9.

(271) 

(272) *+ 2. ก."-!-กY/ก ก    2.1 ก."- 

(273) !กก  !ก-E - -  0 "-

(274) *+2! "ก   กก  [

(275) *+ก.N" 

(276) *+ 1 0!กก-E ก - 

(277)  - .  ! I+ - -ก  0!ก   - !-ก N   1.1. ก  

(278)   ก . 10 10.

(279) ก  

(280)   ก . 11 11.

(281) ก  

(282)   ก . 12 12.

(283) ก  

(284)   ก . 13 13.

(285) 2.2 ก.-กY/ก ก  * 2.2.1 ก.ก ก  กกก .กN   2.1. ก  

(286)   ก . 14 14.

(287) 2.2.2 ก.-กY/ก ก  กกก  !. กก  Nกก .ก 0 -กY/ก ก    2.2 * -  ก  " ก

(288) *+-!!กก  N.  ก กก I+ - - -"ก S!!กก  N.  ก กก I+ - 

(289)    ก   2  Y/

(290) *+ !+ก !! กก N.  ก กก I+ - - . ! I+. ก   กP . ก  

(291)   ก . 15 15.

(292) ก  

(293)   ก . 16 16.

(294) "" ก ! กก  

(295) *+ 1

(296) *+N .  ก กก I+ M S 1 .  ก. 2 .  . 3 .  . 4 .  ... 5.  .... 6. ........... 7-10... ".   2   3  1 0.2  0.2  0.2  0.2  0.2  1 . 0.1  0.1  0.1  0.1  0.1  0.5 . 0.2  0.2  0.2  0.2  0.2 1 . ก  

(297)   ก .  2 .ก 1. .ก 2. ". 0.1  0.1  0.1  0.1  0.1  0.5. 0.2  0.2  0.2  0.2  0.2  0.5  2.5  4 . 1  1  1  1  1  1  4  10 . 0.2  0.2  0.2  0.2  0.2  0.5  1.5  3 . 17 17.

(298) -กY/ก ก กก   ก ! Step Allocation  ก  " ก !A กก   N.  ก กก  / /.ก  

(299)  ก %&'. 1(10 .. ก#ก $. 100 .10(. 3( 30 ..  ก

(300) ก 

(301) . !". 1(10 .. . !!". 4( 40 .. 1 .5( 5 .. . .5( 5 . ก  

(302)   ก . "ก (ก)ก. Step Allocation Group Direct Allocation. 18 18.

(303) " -"!กก  

(304) *+ 1

(305) *+N.  ก กก I+ (Time sheet) M S   2   3  1.  2. .ก 1. 1. ก.. 30 ". 40 ". 30 ". 30 ". 60 ". 60 ". 250 ". 2. .. -. 70 ". 30 ". 30 ". 60 ". 60 ". 250 ". 3. .. 40 ". 30 ". 30 ". 30 ". 60 ". 60 ". 250 ". 4. .... -. 30 ". 70 ". 30 ". 60 ". 60 ". 250 ". 5. .... 40 ". 30 ". 30 ". 30 ". 60 ". 60 ". 250 ". 6. .... 30 ". 40 ". 30 ". 30 ". 60 ". 60 ". 250 ". ". 140 ". 240 ". 220". ก  

(306)   ก . .ก 2. ". 180 " 360 " 360 " 1,500 ". 19 19.

(307) -  -"!Sกก   N.  ก กก  / /.ก 

(308)    ก   2Y//

(309) *+!+ก !Sกก  

(310) *+N.  ก กก  / /.ก "-

(311) N  

(312).  ก %&'. 22044 .. ก#ก $.  .8

(313) #300 .. 360 72 ..  ก

(314) ก 

(315) . !". 140 28 ..  . !!". 360 72 .. 240 1  48 .. . 180 36 .. "ก (ก)ก. Step Allocation Group Direct Allocation. ก  

(316)   ก . 20 20.

(317) -กY/ก ก กก   ก ! Direct Allocation  ก  " ก !A กก   N.  ก กก .ก $. 100 .8(..  ก %&'. ก#ก $. !".  ก

(318) ก 

(319) . 2( 25 .  . "ก (ก)ก. !!". 6( 75 . 1. . Step Allocation Group Direct Allocation. ก  

(320)   ก . 21 21.

(321) ก  

(322)   ก . 22 22.

(323) 

(324) *+ 3  "0 !ก 

(325) *+ก.  M

(326) *+N 

(327) *+ 1 ! 2  "0 !ก 

(328) *+ ก. -$I+. ." 3.1 ก  ! กก   1 Nกก    2, 3,...  !ก Nกก  !.ก 0 -กY/ ก ก  

(329) *+ก. 3.2 ก  ! กก   2 Nกก    3,...  !ก Nกก  !.ก 0 -กY/ก ก  

(330) *+ก. 3.3 ก  ! กก  BN  กก   ก Nกก  !กก .ก 0 -กY/ก ก   

(331) *+ก.

(332) -*ก"กก   

(333)  ก  

(334)   ก . 23 23.

(335) 3.4 ก  ! กก  ! 

(336) *+กก   0"3* Direct Allocation N

(337) *+กก .ก 0  -กY/ก ก  

(338) *+ก.. ก  

(339)   ก . 24 24.

(340) 700. *กก !+() +  ' ','- .

(341) . 2550 ( Output Profile). 

(342). 100. 600 %&'. 100. 100. 1550. ก#ก 100 $. 200. 400. 600. !". 3100. 150. . ก

(343) ก 

(344) . 500. 100. 3100/5. 1200. . 250. 100. !!". 100 50. 1300 . 100. 50. 100. 100 400 1000. 2900. "ก (ก )ก 2900/3. Step Allocation Group. 50. ก  

(345)   ก . Direct Allocation. 25 25.

(346) ก  " 3.1  M$I  !." ก " กก .ก กก   !กก   !"*"-  3.2  ." 0* -*!ก-E - -  -ก  -  ."! กก  !ก -E  ก - 

(347)  - .  ! I+. ก  

(348)   ก . 26 26.

(349) ก  

(350)   ก . 27 27.

(351) ก  

(352)   ก . 28 28.

(353) ก  

(354)   ก . 29 29.

(355) 2 4ก # -2 1(23421/+/+

(356)  '.9  ') .$. 2550 3 .ก  ') *13:; 15 

(357)  ( 2550. ก  

(358)   ก . 30 30.

(359) โปรแกรมคาใชจายผลผลิต ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2550. 13 กก 2550. 1.

(360) โปรแกรมพื้นฐาน • โปรแกรม Excel ใน Microsoft Office 97 หรือ XP • โปรแกรมติดตั้ง ใหโหลดไฟลชื่อ OPC Install.msi • โปรแกรม Internet Explorer หรือ Browser อื่น • โปรแกรม Mail เชน Outlook Express ฯ 13 กก 2550. 2.

(361) ขอแนะนํา • ใหจัดเตรียมขอมูลพื้นฐาน – โครงสรางผลผลิต – งบประมาณ/เงินนอก งปม. จําแนกเปนงบ/ลักษณะรายจาย – เกณฑการกระจายคาใชจายของกิจกรรมหลัก – เกณฑการกระจายคาใชจายของกิจกรรมสนับสนุนและกิจกรรมรอง • จํานวนบุคลากร • จํานวนวันเวลาทําการ (ตามแผนฯ) • อัตราการใชครุภัณฑ • กรณีเปน Office XP ขึ้นไป ใหปด Security ของ Excel กอน. 13 กก 2550. 3.

(362) การติดตง. 1. การติดตั้งโปรแกรม • Double Click ที่ไฟล OPC Install.msi • ใส Serial Number ดังนี้. • ทําตามขั้นตอนการติดตั้ง Install / Finish. 13 กก 2550. 4.

(363) เมนูหลัก. เมนูหลัก. 13 กก 2550. 5.

(364) ขั้นตอนทํางาน. ขั้นตอนการทํางานของโปรแกรม 1. 2.. Create ขอมูลพื้นฐาน (ผลผลิต & กิจกรรม) Enter Data • ใสขอมูลวงเงินงบประมาณป 2550 -> ตารางที่ 1.1 • ใสขอมูลเกณฑการกระจายคาใชจายของกิจกรรมหลักไปยังผลผลิต >ตารางที่ 2.1 • ใสขอมูลเกณฑการกระจายคาใชจายของกิจกรรมสนับสนุน/กิจกรรม รอง ไปยังกิจกรรมหลัก - >ตารางที่ 2.2 3. Run เพื่อประมวลเกณฑการกระจายของกิจกรรมสนับสนุน/รอง ไปยัง กิจกรรมหลัก 4. เรียกระบบรายงาน. 13 กก 2550. 6.

(365) เขาสูระบบ. 2. เขาสูระบบ • เมื่อเขาสูระบบ จะปรากฏ Menu Bar ไดแก. – File ประกอบดวย menu ยอย Print Setup/Print Preview/Print และ Quit ซึ่ง ทุกคําสั่งจะเหมือนกับโปรแกรม Excel โดย Quit จะเทากับการ Exit จาก โปรแกรม – OPC เปนเมนูสําคัญที่ใชในการทํางาน ประกอบดวย. • Home ใชในกรณีตองการใส Cursor กับสูตําแหนงเดิม (คําสั่งนี้ จะ active ตลอดเวลา) • Create ใชครั้งแรกเมื่อจะเริ่มสรางฐานขอมูล (เมื่อเริ่มโปรแกรมครั้งแรก คําสั่งนี้จะ active) • Enter_data ใชหลังจากคําสั่ง Create เมื่อใสขอมูลเกี่ยวกับ ผลผลิต กิจกรรมตาง ๆ เสร็จแลว ใหคลิกคําสั่งนี้ เพื่อสรางฐานขอมูลเกี่ยวกับ งปม. และเกณฑการกระจาย คาใชจาย(คําสั่งนี้จะ active หลังจากไดใชคําสั่ง Create แลว) • Run ใชหลังจากคําสั่ง Enter เมื่อใสขอมูลเกี่ยวกับ งปม. และเกณฑการกระจาย คาใชจายเรียบรอยแลว เพื่อประมวลผลในขั้นสุดทาย (คําสั่งนี้จะ active หลังจากได ใชคําสั่ง Enter_data แลว) • Help ใชในกรณีมีปญหาการใช ซึ่งจะเหมือนกับเมนูหลัก “ขอความชวยเหลือ”. 13 กก 2550. 7.

(366) ใสขอมูลพื้นฐาน. 13 กก 2550. 8.

(367) แกไขเกณฑ. แกไขเกณฑ/งปม. • ใชในกรณีที่ได Run โปรแกรมไป แลวแตปรากฎวาเกณฑ หรือ งบประมาณ ใน Form 1_1, 2 _1 และ 2_2 ไมถูกตอง ก็ใหแกไขที่เมนูนี้โดย ใสรหัสหนวยงานใน. • เพื่อเรียกฐานขอมูลเดิม จากนั้นจึงทํา การ Run โปรแกรมใหมอีกครั้ง ก็จะได เกณฑการกระจายใหมอีกครั้ง. 13 กก 2550. 9.

(368) แกไขผลผลิต/กิจกรรม • ใชในกรณีที่ได Run โปรแกรมไป แลวแตปรากฎวา จํานวน ผลผลิต กิจกรรมหลัก กิจกรรมรองและกิจกรรม สนับสนุน ใน form DATAไมถูกตอง ก็ ใหมาแกไขที่เมนูนี้ โดยใสรหัส หนวยงานใน. 13 กก 2550. • จากนั้นใหแกไขผลผลิต / กิจกรรม ที่ ปุม เพิ่ม/ลด จากนั้นเลือก Enter_data แลวใสขอมูลในตารางที่ 1_1,2_1 และ 2_2 ใหมอีกครั้ง จากนั้นจึงทําการ Run โปรแกรมใหม อีกครั้ง ก็จะไดเกณฑการกระจายใหม อีกครั้ง 10.

(369) ระบบรายงาน. 13 กก 2550. 11.

(370) ประมวลขอมูลเบื้องตน • เลือก ประมวลผลเบื้องตน / Browse โดยเลือกไฟลที่ ไดจากการประมวลผล (รหัสกรม5ตัว ตามดวยOPC.xls) • เลือกระบบงาน ใสขอมูล. 13 กก 2550. • เลือก Execute เพื่อเรียกรายงาน 12.

(371) Send Send. • ใชในกรณีทไ ี่ ด Run โปรแกรมแลว และมีการยอมรับใน เกณฑการกระจายดังกลาว ก็ใหดําเนินการสงขอมูล ดังกลาว โดยเรียกผานเมนูนี้. 13 กก 2550. 13.

(372) ขอความชวยเหลือ. 13 กก 2550. 14.

(373) ออกจากระบบ. ออกจากระบบ. • ใชเมื่อตองการออกจากระบบ. 13 กก 2550. 15.

(374) 3. การยกเลิกการติดตั้ง • เลือก start - > Programs - > OPC 1.71 - > Uninstall. 13 กก 2550. 16.

(375) สิ่งที่สวนราชการตองจัดสง. สรก.จัดสง. 1. แบบฟอรม 1.1 ตารางที่ 1.1, 2.1 และ 2.2 1.2 ขอมูลพืน ้ ฐาน 1.3 รายงานที่ 2 คาใชจายผลผลิตตอหนวยฯ. 2. สงไฟลขอมูลชื่อ 2550XXXXXoutputcosting.xls ในเมนู Send หรือสงใน Diskkette **XXXXX = รหัสหนวยงาน. 13 กก 2550. 17.

(376)

References

Related documents

Bridging On-Premise Infrastructure – VPN &amp; DirectConnect/ExpressRoute Customers may find a need to bridge their existing On-Premise infrastructure to their Public Cloud

Sorting a column doesn't show correct results when virtualization is enabled and the vertical scrollbar is not in default position.. igGrid Bug Fix When virtualization is enabled

When you click and select the Monitor this printer check box in the Monitoring Preferences dialog box, EPSON Status Monitor 2 monitors the selected printer.. The background

inserting 17 replacing 17 storing 18, 38 testing 36 printer accessories 7, 39 cleaning 35 connecting 33 documentation 3 error messages 48 menu 8 parts 4 power problems 43

• By connecting a TV to the unit with an HDMI cable, you can control your iPod or USB storage device, or configure the settings of the unit with the menu displayed on the TV..

You can view the electronic programme guide (EPG) to view information about available programmes.To view the EPG menu please press EPG button on the remote control..

► Tax &amp; Compliance Services ► Residency Determination ► Social Security Services ► Payroll Services Email Address Phone No.. Page 9 Presentation title Tax &amp;

It was at this point in Part 1 of this article that we adjusted properties of the ADO Data Control to achieve a Connection to an Oracle Database, and to build a Recordset which