• No results found

- ตามแผนจานวน 9 เร อง ดาเน นการจานวน 9 เร อง 3. ความร ในพ นธก จการบร การว ชาการด านว ทยาศาสตร และเทคโนโลย

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "- ตามแผนจานวน 9 เร อง ดาเน นการจานวน 9 เร อง 3. ความร ในพ นธก จการบร การว ชาการด านว ทยาศาสตร และเทคโนโลย"

Copied!
22
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

รายงานผลการด าเนินงานการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ประจ าปีการศึกษา 2554  จากการด าเนินงานตามแผนการจัดการความรู้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ โดย คณะกรรมการด าเนินงานการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยตามค าสั่งที่ 831/2554 ได้จัดท าแผนการจัดการ จัดการความรู้ประจ าปีการศึกษา 2554 ขึ้น มีการก าหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่ สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยที่ครอบคลุมพันธกิจในด้านต่าง ๆ รวมทั้งมีการก าหนดบุคลากร กลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัยอย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่ ก าหนด จ านวน 74 เรื่องจาก 21 หน่วยงาน และได้ด าเนินการตามแผนการจัดการความรู้ จ านวน 71 เรื่อง สรุป องค์ความรู้ตามพันธกิจดังนี้ 1. ความรู้ในพันธกิจด้านผลิตบัณฑิต - ตามแผนจ านวน 12 เรื่อง ด าเนินการจ านวน 11 เรื่อง 2. ความรู้ในพันธกิจด้านการวิจัย - ตามแผนจ านวน 9 เรื่อง ด าเนินการจ านวน 9 เรื่อง 3. ความรู้ในพันธกิจการบริการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - ตามแผนจ านวน 6 เรื่อง ด าเนินการจ านวน 5 เรื่อง 4. ความรู้ในพันธกิจสืบสานศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม - ตามแผนจ านวน 6 เรื่อง ด าเนินการจ านวน 5 เรื่อง 5. ความรู้ในพันธกิจการเพิ่มสมรรถนะการปฏิบัติงาน - ตามแผนจ านวน 42 เรื่อง ด าเนินการจ านวน 41 เรื่อง หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยได้มีการด าเนินงานและจัดโครงการและกิจกรรมเพื่อแบ่งปันและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตาม ประเด็นความรู้ที่ก าหนดและเผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมายรวบทั้งมีการการรวบรวมความรู้ตามประเด็น ความรู้ที่ก าหนดที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) ทางเว็บไซต์หน่วยงาน บอร์ดประชาสัมพันธ์ และเอกสารเผยแพร่ต่างๆ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิได้มีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฎิบัติที่ดีของ หน่วยงานจ านวน 13 เรื่องจากทั้งหมด 22 เรื่อง เพื่อให้มีโอกาสเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปี การศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษาที่ผ่านมาที่เป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) และจากความรู้ ทักษะ ของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดี และสามารถน ามาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง

(2)

จากการด าเนินงานตามเกณฑ์ในการประกันคุณภาพการศึกษาส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตัว บ่งชี้ที่ 7.2 การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ซึ่งมหาวิทยาลัยได้มีการด าเนินงานตามเกณฑ์ดังนี้ 1. มีการก าหนดประเด็นความรู้และเป้าหมายของการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ของสถาบัน อย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย o ทุกหน่วยงานด าเนินงานตามเกณฑ์ 2. มีการก าหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่จะพัฒนาความรู้และทักษะด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย อย่างชัดเจนตามประเด็นความรู้ที่ก าหนดในข้อ 1 o ทุกหน่วยงานด าเนินงานตามเกณฑ์ 3. มีการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) เพื่อ ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีตามประเด็นความรู้ที่ก าหนดในข้อ 1 และเผยแพร่ไปสู่บุคลากรกลุ่มเป้าหมายที่ ก าหนด o ทุกหน่วยงานด าเนินงานตามเกณฑ์ 4. มีการรวบรวมความรู้ตามประเด็นความรู้ที่ก าหนดในข้อ 1 ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคลและแหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่ เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาพัฒนาและจัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร (explicit knowledge) o ทุกหน่วยงานด าเนินงานตามเกณฑ์ 5. มีการน าความรู้ที่ได้จากการจัดการความรู้ในปีการศึกษาปัจจุบันหรือปีการศึกษาที่ผ่านมาที่เป็นลายลักษณ์ อักษร (explicit knowledge) และจากความรู้ ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง (tacit knowledge) ที่ เป็นแนวปฏิบัติที่ดีมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง

(3)

แนวทางการพัฒนาและข้อเสนอแนะ 1. ผู้บริหารหน่วยงานควรให้ความส าคัญและช่วยผลักดันส่งเสริมกิจกรรมกระบวนการจัดการความรู้ ภายในหน่วยงานทั้งรูปแบบทางการและไม่เป็นทางการ รวมทั้งระบบการให้รางวัลและยกย่องผู้ ถ่ายทอดความรู้ภายในองค์กรอย่างเป็นรูปธรรม 2. การบ่งชี้ความรู้ควรให้มีความเหมาะสมกับและสอดคล้องกับความต้องการของหน่วยงานเพื่อ แก้ปัญหาบุคลากรไม่ให้ความร่วมมือ 3. หน่วยงานต้องแสวงหา ส่งเสริม ผลักดัน ยกย่อง ผู้มีความรู้และถ่ายทอดประสบการณ์จากการ ปฎิบัติงานจริง ให้กับุคลากรภายในหน่วยงานอย่างเป็นรูปธรรม 4. คณะกรรมการการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย จะต้องวางระบบการบริหารจัดการด้านการ แสวงหา ส่งเสริม ติดตาม สรุปผลความรู้เป็นรูปแบบเอกสารในกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของ หน่วยงานให้มากขึ้น 5. ควรก าหนดให้การถ่ายทอดประสบการณ์ของบุคลากรภายในหน่วยงาน เป็นผลงานที่น ามา ประเมินผลการปฏิบัติงานในการพิจารณาความดี ความชอบ หรือต่อสัญญาของบุคลากรอย่างเป็น ระบบและรูปธรรม 6. การบ่งชี้ความรู้ของหน่วยงานควรเริ่มโดยการบ่งชี้ความรู้จากประสบการณ์ของบุคลากรภายใน เพื่อ ลดปัญหาการจัดโครงการอบรมควรใช้วิทยากรภายนอกมาบรรยายให้ความรู้จะท าให้การบริหาร จัดการช่วงเวลาการจัดโครงการกลุ่มเป้าหมายมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 7. ควรมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีของหน่วยงานภายในระดับสาขาวิชา ระดับคณะ ระดับกอง ศูนย์พื้นที่ เพื่อน าประสบการณ์ตรงจากผู้ปฏิบัติมาเป็นแนวทางในการพัฒนาหน่วยงาน 8. ควรจัดท าระบบฐานข้อมูลองค์ความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติงานจริงของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย 9. ควรวางระบบการเชื่อมโยงองค์ความรู้จากแนวปฏิบัติที่ดีและประสบการณ์ตรงในการปฏิบัติงานเพื่อ รองรับการบริการวิชาการสู่สังคมและพัฒนาต่อยอดเป็นระบบผู้เชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัยต่อไป

(4)

ตารางสรุปการด าเนินงานการจัดการความรู้ของหน่วยงาน ประจ าปีการศึกษา 2554 ล าดับ หน่วยงาน ก าห นดองค์ค วามรู้ตามแ ผน ก าห นดก ลุ่มเป ้าหมาย อย ่างช ัดเจ มีการแ บ่ง ปันและ แลกเปล ี่ยน เรียน รู้ มีการรว บรวมค วามรู้ ตา มประ เด็นคว ามรู้ องค ์คว ามรู้ที่ไ ด้ด าเนินการจริง มีการน าค วามรู้ที่ไ ด้มาป รับ ใช ้ในการป ฏิบั ติง านจริง คณะ 1 คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม 5 เรื่อง    2 เรื่อง 1 เรื่อง 2 คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร 4 เรื่อง    2 เรื่อง 1 เรื่อง 3 คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ 6 เรื่อง    6 เรื่อง 1 เรื่อง 4 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 เรื่อง    6 เรื่อง 1 เรื่อง 5 คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ 5 เรื่อง    5 เรื่อง 1 เรื่อง 6 คณะศิลปศาสตร์ 5 เรื่อง    5 เรื่อง 1 เรื่อง 7 วิทยาลัยการจัดการ 2 เรื่อง    2 เรื่อง 1 เรื่อง สถาบัน/ส านัก 8 สถาบันวิจัยและพัฒนา 5 เรื่อง    5 เรื่อง 1 เรื่อง 9 ส านักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน 5 เรื่อง    5 เรื่อง 1 เรื่อง 10 ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 10 เรื่อง    10 เรื่อง 2 เรื่อง 11 ส านักงานอธิการบดี 24 เรื่อง    24 เรื่อง 11 เรื่อง

(5)

สรุปองค์ความรู้ ประจ าปีการศึกษา 2554 จ าแนกตามพันธกิจมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ความรู้ในพันธกิจด้านผลิตบัณฑิต ล าดับ องค์ความรู้ หน่วยงาน 1 ความรู้เกี่ยวกับการจัดท าและพัฒนาหลักสูตรตาม มาตรฐานคุณวุฒิระดับชาติ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ วิทยาลัยการจัดการ 2 โครงการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิตและ บัณฑิตศึกษาเทคโนโลยีการเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร 3 การคิดภาระงานทั้ง 5 ด้าน คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ 4 ระบบกลไกพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ Hand - On คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ 5 โครงการสหกิจศึกษา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ 7 การจัดท ารายละเอียดของรายวิชา(มคอ.3)ตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ คณะศิลปศาสตร์ 8 การวัดประเมินผลโดยใช้การประเมินทางเลือก คณะศิลปศาสตร์ 9 แผนการเรียนตลอดหลักสูตร ส านักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน 10 ระบบการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ประจ าปีการศึกษา ส านักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน 11 การชี้แจงการเตรียมความพร้อมสหกิจศึกษา ส านักสหกิจศึกษา ความรู้ในพันธกิจด้านการวิจัย ล าดับ องค์ความรู้ หน่วยงาน 1 ปัญหาและความต้องการช่วยเหลือของอุตสาหกรรมกุ้งแช่ แข็งขนาดย่อมและขนาดกลางในเขตภาคกลางตอนล่าง 3 จังหวัด คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม

(6)

ความรู้ในพันธกิจด้านการวิจัย ล าดับ องค์ความรู้ หน่วยงาน 2 โครงการการวิจัยทางการเกษตรเพื่อการเผยแพร่ในระดับ นานาชาติ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร 3 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ 4 การท าวิจัยในชั้นเรียน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 ความรู้เกี่ยวกับการบูรณาการงานวิจัยสู่การตีพิมพ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ 6 การบูรณาการงานวิจัยกับการเรียนการสอนและการบริการ วิชาการ คณะศิลปศาสตร์ 7 ขั้นตอนการเบิกจ่ายเงินงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา 8 ความรู้เกี่ยวกับระเบียบการตีพิมพ์ เผยแพร่ผลงานวิจัยและ แหล่งตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนา 9 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ฟังบรรยายและประชุมเชิงปฏิบัติการ

เรื่อง Action Reseach and Development of Reseach Designs วิทยาลัยการจัดการ ความรู้ในพันธกิจการบริการวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ล าดับ องค์ความรู้ หน่วยงาน 1 มัคคุเทศก์อาสา คณะศิลปศาสตร์ 2 การเขียนใบเสนอขอโครงการบริการวิชาการ สถาบันวิจัยและพัฒนา 3 โครงการน าเสนอผลงานวิชาการทางการเกษตรเพื่อการ ตีพิมพ์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร 4 การบริการวิชาการแก่สังคมแบบมีส่วนร่วม คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ 5 โครงการประชุมวิชาการระดับชาติเรื่องเทอร์โมอิเล็ก- ทริกส์ในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ครั้งที่ 1 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

(7)

ความรู้ในพันธกิจสืบสานศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ล าดับ องค์ความรู้ หน่วยงาน 1 ความรู้เกี่ยวกับวันสงกรานต์ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 โครงการลดโลกร้อน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 เพลงเรือ คณะศิลปศาสตร์ 4 การศึกษาธรรมและปฏิบัติธรรมในชีวิตประจ าวัน กองบริหารงานบุคคล 5 พิธีท าบุญวันขึ้นปีใหม่ กองบริหารทรัพยากรวาสุกรี ความรู้ในพันธกิจด้านการเพิ่มสมรรถนะการปฏิบัติงาน ล าดับ องค์ความรู้ หน่วยงาน 1 สมรรถนะหลัก Core Competency คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 การศึกษาดูงานและการประกันคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 ความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ 4 ความรู้เกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ 5 รายงานผลการปฏิบัติงานตามตัวบ่งชี้การประกันคุณภาพ ภายใน คณะศิลปศาสตร์ 6 ความรู้เกี่ยวกับระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ สถาบันวิจัยและพัฒนา 7 ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาเว็บไซต์หน่วยงาน สถาบันวิจัยและพัฒนา 8 ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ส านักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน 9 องค์ความรู้ เรื่อง การลงทะเบียนออนไลน์ ส าหรับ เจ้าหน้าที่ส านักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ส านักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน 10 คู่มือการปฏิบัติงานเรื่อง ตรวจสอบการลงทะเบียนเรียน ครบหลักสูตรและการตรวจสอบผลการเรียน ส านักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน 11 การออกแบบและจัดท ารายงานสารสนเทศรายบุคคล ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 การเขียนบันทึกข้อความเสนอผู้บริหาร ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 13 ระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามการใช้งบประมาณของ หน่วยงาน ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

(8)

ความรู้ในพันธกิจด้านการเพิ่มสมรรถนะการปฏิบัติงาน ล าดับ องค์ความรู้ หน่วยงาน 14 รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ส าหรับนักศึกษา ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 15 การสืบค้นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 16 การจัดท าสื่ออิเล็กทรอนิกส์ e-book ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 17 การใช้ระบบบริหารการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบ เครือข่าย LMS-rmutsb ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 18 ระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ e-mail ส าหรับบุคลากร และนักศึกษา ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 19 ระบบสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา หน่วยงาน (SAR) ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 20 ระบบสารสนเทศเพื่อการแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์และระบบ เครือข่าย ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 21 ความรู้เกี่ยวกับการจัดท าหนังสือราชการ กองกลาง 22 ขั้นตอนการรับส่งหนังสือของมหาวิทยาลัย - กองกลาง 23 คุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน กองบริหารงานบุคคล 24 การก าหนดตัวชี้วัดในการประเมินผลการปฏิบัติงาน กองบริหารงานบุคคล 25 ความรู้การวางแผนและบริหารโครงการ กองคลัง 26 ความรู้เกี่ยวกับงานการเงิน เบิกจ่าย พัสดุ กองคลัง 27 ความรู้เกี่ยวกับประมาณการรายจ่ายขั้นต่ าที่จ าเป็น กองนโยบายและแผน 28 ความรู้เกี่ยวกับหลักการเขียนโครงการ กองนโยบายและแผน 29 ความรู้เกี่ยวกับการจัดท ารายงานสรุปผลการด าเนินงาน โครงการ กองนโยบายและแผน 30 ความรู้เกี่ยวกับการขอหนังสือราชการ กองนโยบายและแผน 31 ความรู้เกี่ยวกับการใช้โปรแกรม Microsoft office กองบริหารทรัพยากรนนทบุรี 32 การให้ความรู้ในการจัดท าคู่มือการปฏิบัติงาน กองบริหารทรัพยากรสุพรรณบุรี 33 ด้านภาระงานบริการ การคิดภาระงาน : กองบริหารทรัพยากรวาสุกรี 34 ด้านบริหาร การใช้งาน :E-Document กองบริหารทรัพยากรวาสุกรี 35 ความรู้ในการน าคุณธรรม จริยธรรมมาปรับใช้กับการใช้ กองพัฒนานักศึกษา

(9)

ความรู้ในพันธกิจด้านการเพิ่มสมรรถนะการปฏิบัติงาน ล าดับ องค์ความรู้ หน่วยงาน ชีวิตประจ าวัน การท างานหรือการศึกษา 36 ความรู้เกี่ยวกับกฏ ระเบียบ ข้อบังคับ การจัดสถานศึกษา 3 ดี (3D) และการบริหารงานด้านกิจการนักศึกษา กองพัฒนานักศึกษา 37 การพัฒนาขีดความสามารถให้เป็นมหาวิทยาลัยที่มี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีธรรมาภิบาล ส านักงานตรวจสอบภายใน 38 ความรู้เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาการประกัน( คุณภาพการศึกษาภายใน, การประกันคุณภาพการศึกษา ภายนอก, ก(. .รพ. ส านักคุณภาพการศึกษา 39 ความรู้เกี่ยวกับการควบคุมภายใน และการบริหารความ เสี่ยง ส านักคุณภาพการศึกษา 40 ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรม 5 ส .Plus 3 ส านักคุณภาพการศึกษา 41 การด าเนินงานตามหลักธรรมมาภิบาล ส านักคุณภาพการศึกษา

(10)

สรุปแนวปฏิบัติที่ดีของหน่วยงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ประจ าปีการศึกษา 2554 ล าดับ แนวปฏิบัติที่ดี หน่วยงาน 1 คู่มือขั้นตอนการท างานการบริการวิชาการ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม 2 การวิจัยทางการเกษตรเพื่อการเผยแพร่ในระดับนานาชาติ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร 3 ระบบกลไกพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ Hand – On คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ 4 งานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของคณะ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 จัดท าแผนการสอนและรายงานผลการด าเนินการของรายวิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ 6 การพิจารณาคัดเลือกบุคลากรดีเด่น ประจ าปี 2554 คณะศิลปศาสตร์ 7 มาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติงานการพัฒนาหลักสูตรบริหารธุรกิจ มหาบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ วิทยาลัยการจัดการ 8 การพัฒนาการให้บริการวิชาการแก่สังคมโครงการซ่อมแซม บ ารุงรักษาเครื่องมือเครื่องจักรกลการเกษตรร่วมกับมูลนิธิพระดาบส สถาบันวิจัยและพัฒนา 9 การลงทะเบียนออนไลน์ ส าหรับเจ้าหน้าที่ส านักส่งเสริมวิชาการและ งานทะเบียน ส านักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน 10 การออกแบบและจัดท ารายงานสารสนเทศรายบุคคล ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 11 มาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ 12 มาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) กองกลาง 13 การสรรหาพนักงานมหาวิทยาลัย กองบริหารงานบุคคล 14 ระบบบัญชี 3 มิติ กองคลัง 15 การเพิ่มสมรรถนะการปฏิบัติงาน โดยการจัดท าคู่มือการปฏิบัติงาน กองบริหารทรัพยากรสุพรรณบุรี 16 หลักการเขียนโครงการ กองนโยบายและแผน 17 การปฏิบัติงานตามหลักธรรมาภิบาลของกองบริหารทรัพยากร นนทบุรี กองบริหารทรัพยากรนนทบุรี 18 การด าเนินงานตามมาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Standard

Operating Procedure : SOP)

กองบริหารทรัพยากรวาสุกรี 19 การกู้ยืมเงินกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ( กองพัฒนานักศึกษา

20 งานตรวจสอบภายใน ส านักงานตรวจสอบภายใน

21 งานประกันคุณภาพการศึกษา ส านักคุณภาพการศึกษา

(11)

ภาพบรรยากาศกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดีของหน่วยงานภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ นายสุวุฒิ ตุ้มทอง ผู้อ านวยการส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นผู้น าเสวนาในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดีของหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย ตัวแทนของหน่วยงานขึ้นเวทีน าเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดีของหน่วยงานดังนี้ นายคณัสนันท์ สงวนสัตย์ ตัวแทนคณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง ระบบกลไกพัฒนานักศึกษาให้เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ Hand – On

(12)

นายอเนก พุทธิเดช ตัวแทนคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

แนวปฏิบัติที่ดี(Good Practices)ในงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของคณะ

ผศดนุพล ข าปัญญา ตัวแทนค ณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์. แนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง จัดท าแผนการสอนและรายงานผลการด าเนินการของรายวิชา

(13)

นางไสว เทศพันธ์ ตัวแทนสถาบันวิจัยและพัฒนา

แนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง การพัฒนาการให้บริการวิชาการแก่สังคมโครงการซ่อมแซมบ ารุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักรกลการเกษตรร่วมกับมูลนิธิพระดาบส

ผศวารุณี กรุดพันธ์ ตัวแทน ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. แนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง การออกแบบและจัดท ารายงานสารสนเทศรายบุคคล

(14)

ว่าที่ร้อยตรีวิญญู มั่นธรรม ตัวแทนกองกลาง

แนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง มาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP)

นายจรยุทธ โซ๊ะมาลี ตัวแทนกองบริหารงานบุคคล แนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง การสรรหาพนักงานมหาวิทยาลัย

(15)

นางอัจฉรา ลักษณสมบูรณ์ ตัวแทนกองบริหารทรัพยากรสุพรรณบุรี

แนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง การเพิ่มสมรรถนะการปฏิบัติงาน โดยการจัดท าคู่มือการปฏิบัติงาน

นายชัยพงษ์ วิลามาศ ตัวแทนกองพัฒนานักศึกษา

(16)

นายพัฒน์พล แก้วยม ตัวแทนส านักคุณภาพการศึกษา แนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง งานประกันคุณภาพการศึกษา

นายด าเนิน ไชยแสน ตัวแทนส านักสหกิจศึกษา แนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง การเตรียมความพร้อมสหกิจศึกษา

(17)
(18)

สรุปความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดีของหน่วยงาน  ส านักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ได้จัดกิจกรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดีของหน่วยงานขึ้น ในวันที่ ณ 2555 มิถุนายน 22หอประชุม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา มีผู้เข้าร่วมโครงการจ านวน 271 คน โดยท าการ ประเมินผลโดยการแจกแบบประเมินความพึงพอใจและได้รับกลับคืนจ านวน ชุด ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุม 111 ข้อมูลทั่วไปแบ่งเป็น 4 ส่วนดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ ชาย คน21 จ านวน 22.4 คิดเป็นร้อยละ หญิง คน 88 จ านวน คิดเป็นร ้อยละ 75.9 2. ต าแหน่ง ข้าราชการ จ านวน คน 22 19.2คิดเป็นร้อยละ พนักงาน จ านวน คน 12 51.4คิดเป็นร้อยละ ลูกจ้างประจ า จ านวน คน 1 2.9 คิดเป็นร้อยละ ลูกจ้างชั่วคราว จ านวน คน 29 25.2คิดเป็นร้อยละ 3. ระดับการศึกษา ต่ ากว่าปวส. คน 2 จ านวน 1.7 คิดเป็นร้อยละ ปวส. จ านวน คน 4 3.4 คิดเป็นร้อยละ ปริญญาตรี จ านวน คน 81 19.8คิดเป็นร้อยละ ปริญญาโท จ านวน คน 28 24.1คิดเป็นร้อยละ 3. ศูนย์พื้นที่ ศูนย์นนทบุรี จ านวน คน 22 17.2คิดเป็นร้อยละ ศูนย์วาสุกรี จ านวน คน 14 คิดเป็นร้อยละ 12.1 ศูนย์สุพรรณบุรี จ านวน คน 13 11.2คิดเป็นร้อยละ ศูนย์หันตรา จ านวน คน 17 57.8คิดเป็นร้อยละ

(19)

ส่วนที่ ความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ 2 1. ได้รับรู้ข่าวสารเกี่ยวกับการจัดการความรู้ - เคยได้รับความรู้ จ านวน คน 97 คิดเป็นร้อยละ 87.1 - ไม่เคย คน 12 จ านวน คิดเป็นร้อยละ 8.1 2 . แหล่งให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ บอร์ด- KM/บอร์ดประชาสัมพันธ์ จ านวน คน 31 คิดเป็นร้อยละ 15.58 เอกสารเผยแพร่ / หนังสือเวียน - จ านวน คน 12 คิดเป็นร้อยละ 21.84 การอบรม / สัมมนา - คน 55 จ านวน คิดเป็นร้อยละ 23.81 การศึกษาต่อ / การอบรม - คน 14 จ านวน คิดเป็นร้อยละ 1.21 - Website KM / KM Blog จ านวน คน 42 คิดเป็นร้อยละ 17.32 กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - / ชุมชนนักปฏิบัติ CoP จ านวน คน 24 คิดเป็นร้อยละ 12.39 3 . ความคิดเห็นของบุคลากรเกี่ยวกับการจัดการความรู้ภายในหน่วยงาน - ไม่มีการจัดการความรู้ จ านวน คน 5 4.3 คิดเป็นร้อยละ - มีการจัดการความรู้ จ านวน คน 123 88.8คิดเป็นร้อยละ - ไม่ทราบ จ านวน คน 1 5.2 คิดเป็นร้อยละ 4 . บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการความรู้เพื่อเพิ่มมูลค่าตนเอง - ไม่มีเลย คน 2 จ านวน 1.7 คิดเป็นร้อยละ - น้อยมาก คน 11 จ านวน 13.8คิดเป็นร้อยละ - ปานกลาง คน 84 จ านวน คิดเป็นร้อยละ 72.4 - ดีมาก จ านวน คน 12 12.3คิดเป็นร้อยละ 5 . บุคลากรรู้จักเว็บไซต์การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย รู้จัก- จ านวน คน 122 87.9คิดเป็นร้อยละ ไม่รู้จัก - จ านวน คน 12 12.3คิดเป็นร้อยละ 1 . บุคลากรรู้จ ักระบบบริหารจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัย รู้จัก- จ านวน คน 99 85.3คิดเป็นร้อยละ ไม่รู้จัก - จ านวน คน 11 13.8คิดเป็นร้อยละ

(20)

ส่วนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการความรู้ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความรู้การน าไปใช้/การบรรลุผล/ ประเด็นความรู้การน าไปใช้/การบรรลุผล/ ค่าเฉลี่ย SD ระดับ 1 . ก่อนเข้าร่วมโครงการ ท่านมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่จัดอบรม ระดับใด 2.98 2.67 ปานกลาง 2 .หลังเข้าร่วมโครงการท่านมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่จัดอบรม ระดับใด 3.82 2.50 มาก 3.ท่านบรรลุวัตถุประสงค์ของการเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ระดับใด 3.83 2.47 มาก 4 . ท่านสามารถน าความรู้จากการเข้าร่วมโครงการครั้งนี้ไปใช้ในการ ปฏิบัติงานระดับใด 3.86 2.47 มาก ประเด็นความรู้/การบรรลุผล/การน าไปใช้ หัวข้อ ก่อนเข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่ จัดอบรมระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.98, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.67) หลังเข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่จัดอบรมระดับมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.82, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.50) การ บรรลุวัตถุประสงค์ของการเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.83, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.47) และสามารถน าความรู้จากการเข้าร่วมโครงการครั้งนี้ไปใช้ในการปฏิบัติงาน (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.86, ค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 0.47) ส่วนที่ 4 ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมผู้เข้าร่วมโครงการฯ รายการ ค่าเฉลี่ย ระดับ ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ด้านกระบวนการขักนตอนการให้บริการ / 6553 มาก 1 . การประชาสัมพันธ์โครงการอย่างทั่วถึง 3.53 มาก 2 ( 1.7 ( 12 ( 53.4 ( 43 ( 37.1 ( 1 ( 5.2 ( - 2 . ขั้นตอนการลงทะเบียน 3.72 มาก 7 ( 1.2 ( 72 ( 12.3 ( 35 ( 32.2 ( 2 ( 1.7 ( - 3 . การก าหนดระยะเวลาเหมาะสม 3.72 มาก 11 ( 9.5 ( 14 ( 55.2 ( 35 ( 32.2 ( 4 3.4

(21)

-รายการ ค่าเฉลี่ย ระดับ ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ด้านวิทยากรผู้ให้บริการ 65.3 มาก 1 . บุคลิกภาพของวิทยากร 3.92 มาก 9 ( 7.8 ( 85 ( 73.3 ( 18 (15. 5( 1 ( 2.9 ( - 2 . การเตรียมตัวและความพร้อมของ วิทยากร 3.92 มาก 8 ( 1.9 ( 85 ( 73.3 ( 19 ( 11.4 ( - - 3 . การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร 3.89 มาก 12 ( 8.1 ( 81 ( 19.8 ( 22 ( 19.2 ( - - 4 . การเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นและ ซักถามปัญหา 3.77 มาก 9 ( 7.8 ( 72 ( 12.3 ( 31 ( 21.7 ( 2 ( 1.7 ( - ด้านสิ่งอ านวยความสะดวก 65.2 มาก 1 . การให้บริการและอ านวยความสะดวก ของเจ้าหน้าที่ 3.85 มาก 11 ( 9.5 ( 77 ( 11.4 ( 24 ( 22.7 ( 2 ( 1.7 ( - 2 . สถานที่จัดโครงการสะอาดและมีความ เหมาะสม 3.82 มาก 9 ( 7.8 ( 78 ( 17.2 ( 22 ( 19.2 ( 5 ( 4.3 ( - 3 . ความพร้อมของวัสดุเอกสาร/อุปกรณ์/ ประกอบ 3.82 มาก 12 ( 8.1 ( 74 ( 13.8 ( 27 ( 23.3 ( 3 ( 2.1 ( - 4 . การบริการของอาหารว่างและเครื่องดื่ม 3.85 มาก 12 ( 12.3 ( 71 ( 15.5 ( 24 ( 22.7 ( 1 ( 2.9 ( 1 ( 2.9 ( ด้านคุณภาพการให้บริการ 65.6 มาก 1 . เนื้อหาและหลักสูตรตรงกับความต้องการ 3.83 มาก 12 ( 8.1 ( 75 ( 14.7 ( 27 ( 23.3 ( 1 ( 2.9 ( - ความพึงพอใจในภาพรวมของโครงการ/ กิจกรรม 65.6 มาก 7 ( 1.2 ( 19 ( 59.5 ( 22 ( 19.2 ( 1 ( 2.9 ( - การอภิปรายผล จากการด าเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างคลังความรู้ภายในมหาวิทยาลัย พบว่ามีความพึงพอใจต่อการจัดโครงการดังกล่าวโดยรวมระดับมาก ที่ร้อยละ76.6 (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.83) ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจในด้านวิทยากรผู้ให้บริการมีความพึงพอใจในระดับมากร้อยละ 77.2 (ค่าเฉลี่ย เท่ากับ3.86) พึงพอใจสูงสุดในหัวข้อบุคลิกภาพของวิทยากรและการเตรียมตัวและความพร้อมของวิทยากรร้อยละ

(22)

78.0 เท่ากับ 3.90 ) รองลงมาหัวข้อการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรร้อยละ 77.8 (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.89) และ สุดท้ายหัวข้อการเปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นและซักถามปัญหาร้อยละ 75.4 (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.77) ในด้านคุณภาพการให้บริการ มีความพึงพอใจระดับมากในหัวข้อเนื้อหาและหลักสูตรตรงกับความต้องการ ที่ร้อย ละ 76.6 (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.83) ในด้านสิ่งอ านวยความสะดวกมีความพึงพอใจในระดับมากร้อยละ 76.4 (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.82) พึงพอใจ สูงสุดหัวข้อการบริการของอาหารว่างและเครื่องดื่มและการให้บริการและอ านวยความสะดวกของเจ้าหน้าที่ร้อยละ 77.0 (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.85) รองลงมาความพร้อมของวัสดุ/อุปกรณ์/เอกสารประกอบและหัวข้อสถานที่จัด โครงการสะอาดและมีความเหมาะสมร้อยละ 76.0 (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.80) ในด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการมีความพึงพอใจในระดับมากร้อยละ 71.2 (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.56) พึงพอใจสูงสุดในหัวข้อขั้นตอนการลงทะเบียนและการก าหนดระยะเวลาเหมาะสมร้อยละ 74.4 (ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.72) รองลงมาการประชาสัมพันธ์โครงการอย่างทั่วถึงร้อยละ 70.6 (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.53) ในด้านเปรียบเทียบความรู้ก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการฯ พบว่ามีค่าสถิติทดสอบที่ระดับนัยส าคัญ .000 ซึ่งน้อยกว่า .05 แสดงว่าโดยรวมแล้วผู้เข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ ต่างได้รับความรู้ในระดับเพิ่มมากขึ้น ซึ่งท า ให้การเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติงานได้

References

Related documents

SVOBODOVÁ, J.: Jazyková specifika školské komunikace a výuka mateřštiny. – GEJGUŠOVÁ, I.: Komunikační složka přípravy budoucích učitelů mateřského jazyka. In:

So the strong convergence of the random Riemann integral (to the Lebesgue integral) implies that almost surely the rst-return Riemann sums also converge to the integral, if we take

การพัฒนาแอพพลิเคชั่นบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เรื่อง กีฬา แบดมินตัน สายฝน พรมเทพ  กฤติกา สังขวดี  ปัญญา

The CER has proposed that Gaslink develop a number of standard procedures to facilitate biogas connections, including the creation of a connection procedure

The vindari believe these “Old Ones” to be a test of their faith from the One True God, while the bhriota venerate the return of these creatures as a return to the ancient and true

[r]

In this qualitative study, I explored the current assessment process across rural and remote areas in Pennsylvania along with the strategies that guide both the case manager and

The lion’s share of transaction activity took place in the first quarter of the year: the housing companies Vitus (30,000 apartments) and Dewag (11,500 apartments) were sold