• No results found

ค าแถลงผลการด าเน นงานประจ าป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ของนายกองค การบร หารส วนต าบลสวนหลวง อ าเภออ มพวา จ งหว ดสม ทรสงคราม

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "ค าแถลงผลการด าเน นงานประจ าป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ของนายกองค การบร หารส วนต าบลสวนหลวง อ าเภออ มพวา จ งหว ดสม ทรสงคราม"

Copied!
8
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

ค าแถลงผลการด าเนินงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ของนายกองค์การบริหารส่วนต าบลสวนหลวง อ าเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม --- เรียน ท่านประธานสภา และสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนต าบลสวนหลวง ตามที่ผม นายไพฑูรย์ นิยมเวช และคณะผู้บริหาร ได้ก าหนดนโยบายการบริหาราชการของ องค์การบริหารส่วนต าบลสวนหลวง ซึ่งเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและสอดคล้องสนับสนุน ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดสมุทรสงคราม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชน ในต าบลสวนหลวง ซึ่งได้แถลงถึงกรอบนโยบาย ทิศทางและแนวทางการพัฒนาโดยมุ่งหวังที่จะสร้างความ มั่นคง และความมีเสถียรภาพในการด ารงชีพอย่างยั่งยืนของชาวต าบลสวนหลวง ให้มีความกินดี อยู่ดี มีคุณภาพ ชีวิตที่สอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เป็นจริง ตามที่ได้แถลงนโยบายต่อสภาองค์การบริหารส่วนต าบลสวนหลวง ในการเข้ารับต าแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนต าบลสวนหลวง ไว้แล้วนั้น และเพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ของ นายกองค์การบริหารส่วนต าบลเป็นไปตาม มาตรา ๕๘/๕ แห่ง พระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหาร ส่วนต าบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาต าบลและองค์การบริหารส่วนต าบล (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๖ที่ก าหนด “ให้นายกองค์การบริหารส่วนต าบลจัดท ารายงานแสดงผลการปฏิบัติงานตามนโยบายที่ ได้แถลงไว้ต่อสภาองค์การบริหารส่วนต าบลเป็นประจ าทุกปี” อนึ่งด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๘๗ วรรค ๓ ได้ บัญญัติให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรายงานผลการด าเนินงานต่อประชาชนในเรื่องการจัดท างบประมาณ การใช้จ่ายและผลการด าเนินงานในรอบปีเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและก ากับการบริหาร จัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดท าแผนพัฒนาองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ หมวด ๖ ข้อ๓๐(๕) ได้ก าหนดให้ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เสนอผลการ ติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนทราบโดยทั่วไป อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ภายในเดือนธันวาคม ของทุกปี ซึ่งจะได้ด าเนินการจัดท าระบบสารสนเทศการบริหารจัดการเพื่อการวางแผนและประเมินผลการใช้ จ่ายงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้จัดท าร่างตัวอย่าง การจัดท ารายงานฯ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ แห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๗๘ วรรค ๓ และระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการ จัดท าแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๘ หมวด ๖ ข้อ ๓๐(๕) อีกครั้งหนึ่งต่อไป ตามแผนพัฒนาสามปี (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๗ ) ขององค์การบริหารส่วนต าบลสวนหลวง ประกอบกับข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ ได้ก าหนดแผนงานโครงการและ งบประมาณส าหรับการพัฒนาด้านต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่อย่างจ ากัด เมื่อเปรียบเทียบกับภารกิจต่าง ๆ หรือแผนงาน โครงการของหมู่บ้าน ชุมชน ซึ่งได้เสนอไว้และเป็นความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ที่จะต้องด าเนินการ เพื่อบริการให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น ตามอ านาจหน้าที่ตามที่กฎหมายก าหนด และตามแผนพัฒนาตลอดจน นโยบายที่แถลงไว้ต่อสภาองค์การบริหารส่วนต าบล

(2)

ทั้งนี้ ในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ องค์การบริหารส่วนต าบลสวนหลวง ได้ด าเนิน กิจการตามแผนพัฒนา และเป็นไปตามนโยบายที่แถลงไว้ ต่อสภาฯ สามารถตอบสนองต่อความต้องการของ ประชาชนในท้องถิ่น ได้ครบถ้วนตามที่แถลงไว้ คือ ๑.นโยบายด้านการเมืองและการบริหาร ๑.๑ พัฒนาองค์กรองค์การบริหารส่วนต าบลสวนหลวง ให้เป็นองค์กรธรรมาภิบาล ที่มี หลักการบริหารบ้านเมืองที่ดี เป็นหน่วยสังคมที่ดี และจะยกระดับขึ้นเป็นเทศบาลต าบลในอนาคต เมื่อมี องค์ประกอบครบทุกภาคส่วน พร้อมทั้งสนับสนุนการศึกษา พัฒนาศักยภาพแก่ สมาชิกสภาท้องถิ่น รวมทั้ง พนักงานข้าราชการ อันเป็นทรัพยากรบุคคล ส าคัญขององค์การบริหารส่วนต าบลสวนหลวง ๑.๒ ส่งเสริมสนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วม ทางการบริหารและการเมืองภายใต้ระบอบ ประชาธิปไตย ของชุมชนและภาคประชาสังคม ๑.๓ ประสานงานเพื่อก่อให้เกิด การสร้างเครือข่าย การท างาน ทั้งภาครัฐ และองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ในจังหวัด และพื้นที่อื่นๆ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องกับภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน พร้อมทั้งเปิด โอกาสให้ชุมชนได้เข้าถึง การเฝ้าระวัง การตรวจสอบ การด าเนินงานและการบริหารจัดการขององค์การบริหาร ส่วนต าบลสวนหลวง ได้ทุกระดับ ๑.๔ สนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ การน าเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารมาใช้กับการ พัฒนาองค์กร สนับสนุนงานวิจัยเชิงปฎิบัติในมิติต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการท้องถิ่นร่วมกับหน่วยงาน องค์กรและสถาบันการศึกษาต่างๆ ๒. นโยบายด้านการพัฒนาสังคม ๒.๑ รณรงค์ส่งเสริมกระบวนการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม การสร้างวินัยและจิต สาธารณะของประชาชนในต าบล ๒.๒ พัฒนาองค์ความรู้สู่ชุมชนในต าบลสวนหลวง โดยสร้างชุมชนในต าบลให้เป็นสังคมแห่ง การเรียนรู้ ที่มุ่งเน้นประชาชนในพื้นที่ต าบลสวนหลวง เป็นศูนย์กลางการพัฒนา ๒.๓ ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาสังคมที่สอดคลองกับทิศทางของการสร้างเสริมสุขภาวะ แบบองค์รวมและสร้างสังคมที่อยู่ดี มีสุข ภายใต้แนวพระราชด ารัสเศรษฐกิจพอเพียง ในบริบทของต าบลสวน หลวง ๒.๔ ส่งเสริมการพัฒนาทักษะ และกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ รวมทั้งการจัดสวัสดิการที่จ าเป็น พื้นฐาน ส าหรับการพัฒนาเด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ เชื่อมโยงกับการท างานด้านสวัสดิการสังคม ของ ภาครัฐและเอกชนในแบบของการมีส่วนร่วม ๓. นโยบายการพัฒนาการศึกษา การกีฬา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ๓.๑ ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนากระบวนการศึกษา ทั้งในระบบและนอกระบบด้วยการจัด การศึกษาตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย ปี ๒๕๕๐ ส าหรับเด็ก เยาวชน และ ประชาชน ๓.๒ ส่งเสริมสนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กประจ าต าบล ให้เด็กเล็กในต าบลสวนหลวงได้มี โอกาสเรียนฟรี และเรียนดีอย่างมีคุณภาพ ทั้งด้านสุขภาพกาย และใจ อย่างทั่วถึง ๓.๓ ส่งเสริมกิจกรรมการแข่งขันกีฬาทั้งภายใน และภายนอกชุมชน ในต าบลสวนหลวง

(3)

๓.๔ สนับสนุนกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวข้องกับศาสนพิธี การปฎิบัติกิจทางศาสนาและพัฒนาศา สนสถานของวัดทั้ง ๖ วัดในเขตต าบลสวนหลวง ๓.๕ สนับสนุนส่งเสริมการสานวัฒนธรรมประเพณี วิถีชุมชนภูมิปัญญาท้องถิ่น บ้านดนตรี และนวัตกรรมต่างๆ อันเกิดจากปราชญ์ชาวบ้านในต าบล ๔. นโยบายการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน ๔.๑ พัฒนาปรับปรุงระบบการบริการ สาธารณูปโภค สาธารณูปการ โครงสร้างพื้นฐาน อัน ได้แก่ ถนน สะพาน คูคลอง กิจการประปา ไฟฟ้า และโทรศัพท์สาธารณะ อย่างทั่วถึงทั้งต าบล ๔.๒ ส่งเสริมการพัฒนาภูมิทัศน์ ตามถนนต่างๆในต าบล และส านักงานที่ท าการ ขององค์การ บริหารส่วนต าบลสวนหลวง ตลอดจนมีการจัดท าผังเมืองต าบล ให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาตาม ยุทธศาสตร์ประจ าจังหวัด ๔.๓ ส่งเสริมการพัฒนาต าบลในการก่อสร่างต่างๆ ให้สอดรับกับการยกระดับเป็นต าบลแห่ง การท่องเที่ยวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน ๔.๔ ประสานงานการสนับสนุนงบประมาณจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง ในการก่อสร้าง โครงการที่เกินศักยภาพ ของ อบต.อย่างต่อเนื่อง ๕ .นโยบายการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและความมั่นคง ๕.๑ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ภาคการเกษตร ศูนย์เทคโนโลยีการเกษตรและการพัฒนาอาชีพ ทางการเกษตรที่เหมาะสมกับสภาวะท้องถิ่น ๕.๒ ส่งเสริมและพัฒนากลุ่มอาชีพต่างๆอันเกิดจากการรวมตัวของชาวบ้านในต าบล เช่น กลุ่ม ออมทรัพย์ กลุ่มตลาดวัฒนธรรมและกลุ่มเกษตร เป็นต้น ให้มีความยั่งยืนและต่อเนื่องสอดคล้องกับทรัพยากรใน ท้องถิ่นตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ๕.๓ ส่งเสริมสนับสนุนกิจการบ้านพักโฮมสเตย์ และ รีสอร์ท ให้ปฎิบัติตามระเบียบข้อบัญญัติ ของต าบลในแนวทางการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๕.๔ ส่งเสริมสนับสนุน กิจการของ อปพร. ของต าบล ให้มีความเข้มแข็ง สร้างเครือข่าย ด้าน บริการช่วยเหลือฉุกเฉินหนึ่งต าบล หนึ่งทีม กู้ชีพกู้ภัย ตลอดจนดูแล สวัสดิภาพ และสวัสดิการต ารวจชุมชน ๕.๕ ส่งเสริมการสร้างวินัยจราจร และสนับสนุนกิจการการจัดระเบียบจราจร ตามย่านชุมชน ตลอดจนมาตรการ สร้างความปลอดภัยบนท้องถนนอย่างทั่วถึง ๕.๕ เสริมสร้างความเข้มแข็ง และสวัสดิภาพของประชาชนในต าบลให้ปราศจากสิ่งเสพติด และอาชญากรรม ตั้งแต่เด็กเล็กไปจนถึงผู้สูงอายุ ๖. นโยบายการพัฒนาด้านสาธารณสุขและส่งเสริมคุณภาพชีวิต ๖.๑ ส่งเสริมสนับสนุนงานสุขภาพอนามัย และการจัดการสุขภาวะภาคประชาชนโดยผ่านกลุ่ม อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน ๖.๒ สนับสนุนการควบคุมป้องกัน การเผยแพร่ ระบาดของโรคติดต่อ ที่เป็นอันตรายต่อ สุขภาพโดยรวมของประชาชนในต าบล

(4)

๖.๓ พัฒนายกระดับผู้ประกอบการร้านค้า ร้านอาหาร ให้เข้าสู่ระบบมาตรฐานอาหารปลอดภัย ตามกฏเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขชุมชน ให้ทั่วถึงทั้งต าบล ๖.๔ สนับสนุนการจัดตั้งกลุ่มกองทุนส่งเสริมอนามัยและคุณภาพชีวิตประจ าต าบล ๖.๕ สนับสนุนและส่งเสริมกลุ่มผู้สูงอายุและคนพิการ ให้ขึ้นทะเบียนอย่างทั่วถึงทั้งต าบล เพื่อ รองรับการสงเคราะห์ด้านสวัสดิการและสุขอนามัย ๗. นโยบายการพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและพลังงาน ๗.๑ รณรงค์ส่งเสริมสร้างจิตส านึกสาธารณะทางด้านการบริหารจัดการธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมและพลังงานแก่ประชาชนในต าบล ๗.๒ พัฒนากระบวนการก าจัดขยะแบบมีส่วนร่วมของประชาชนในต าบลเพื่อให้เกิดรูปแบบ มิติใหม่ๆอันน าไปสู่กระบวนการพึ่งตนเองแบบยั่งยืนในอนาคต ๗.๓ ปลูกจิตส านึกของประชาชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ธรรมชาติ และระบบนิเวศน์ทาง ธรรมชาติแบบดั้งเดิมที่บรรพบุรุษสร้างไว้หรือโดยธรรมชาติเช่น หิ่งห้อย การสัญจรทางเรือผ่านคลองต่างๆเป็น ต้น ๗.๔ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการสร้างบ่อบ าบัดน้ าเสียในอาคารบ้านเรือนริมแม่น้ าและคู คลองในเขตต าบลสวนหลวงเพื่อเป็นต าบลน าร่องในการรักษาสิ่งแวดล้อม ๗.๕ ส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาวิจัยเชิงปฎิบัติการที่เกี่ยวข้องกับภาวะโลกร้อน ให้เกิดขึ้นใน ต ำบล โดยมีโครงการที่ด าเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ สรุปได้ ดังนี้ ๑. ค่าตอบแทนผู้ปฎิบัติราชการอันเป็นประโยชน์ตั้งท้องถิ่น เพื่อจ่ายเป็นค่าตอบแทนคณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้าง เงิน รางวัลประจ าปี ค่าตอบแทนการจัดเก็บข้อมูล( จปฐ.) และจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ อปพร.ที่ประจ าศูนย์และ เจ้าหน้าที่อปพร.ช่วยเหลืองานบรรเทาสาธารภัยประจ าต าบล ค่าตอบแทนแก่นักเรียน นักศึกษาที่มาปฎิบัติงานช่วงหยุดภาคเรียน ฯลฯ เป็นค่าตอบแทนตามนโยบายในการแก้ปัญหาการว่างงานและอื่นๆงบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๒. ค่าธรรมเนียมและค่าลงทะเบียนต่างๆ เช่นค่าจ้างเติมน้ ายาเคมีดับเพลิง ค่าจ้างจัดท าบอร์ดประชาสัมพันธ์ ค่าจ้างเข้าปกจัดท า รูปเล่มผลงานต่างๆ,แผ่นพับ,ใบปลิว ค่าจ้างท าความสะอาดบริเวณสถานที่ราชการ งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท ๓. ค่าจ้างเหมาบริการในการจัดเก็บขยะมูลฝอยในพื้นที่ต าบลสวนหลวง งบประมาณ ๔๐๐,๐๐๐ บาท ๔. ค่าซ่อมแซมบ ารุงรักษาทรัพย์สินในส่วนของส านักปลัด งบประมาณ ๔๐,๐๐๐ บาท ๕. ค่ารับรองในการต้อนรับคณะบุคคลหรือบุคคลที่เข้ามาตรวจงาน นิเทศงานหรือเยี่ยมชม ทัศนะศึกษาดูงาน งบประมาณ ๓๕,๐๐๐ บาท ๖. ค่าจ้างเหมาบริการเกี่ยวกับกิจการประปา งบประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ บาท ๗. ค่าเลี้ยงรับรองการประชุมสภาท้องถิ่น งบประมาณ ๑๐,๐๐๐ บาท ๘. โครงการ อบต.อบรมสัมมนาและศึกษาดูงาน งบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท ๙. โครงการ อบต.สัญจร งบประมาณ ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๐. โครงการคาราวานเสริมสร้างเด็กและเยาวชน งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๑๑. โครงการสนับสนุนกิจกรรม อปพร. งบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท ๑๒. โครงการส่งเสริมสนับสนุนศูนย์ต่อต้านยาเสพติดประจ าต าบลสวนหลวง งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท ๑๓. โครงการพัฒนาและส่งเสริมประชาคมภายใต้หลักธรรมาภิบาล งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท

(5)

๑๔. โครงการส่งเสริมการเรียนรู้แบบและฝึกอบรมบุคลากรแบบบูรณาการ งบประมาณ ๓๐,๐๐๐ บาท ๑๕. โครงการสวนหลวงน่าอยู่ งบประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ บาท ๑๖. โครงการพัฒนาและส่งเสริมศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีทางการเกษตรประจ าต าบลสวนหลวง งบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท ๑๗. โครงการปล่อยกุ้งแม่น้ าและพันธุ์ปลาลงสู่แม่น้ า งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๑๘. ค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้ง งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท ๑๙. โครงการสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาส งบประมาณ ๔๕,๐๐๐ บาท ๒๐. ค่าพวงมาลัย ดอกไม้ กระเช้าดอกไม้และพวงมาลัย เพื่อจ่ายในพิธีการส าคัญ ตามวาระโอกาสที่จ าเป็นงบประมาณ ๑๐,๐๐๐ บาท ๒๑. ค่าวัสดุส านักงาน งบประมาณ ๓๐,๐๐๐ บาท ๒๒. ค่าวัสดุไฟฟ้า งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท ๒๓. ค่าวัสดุยานพาหนะและขนส่ง งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท ๒๔. ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น งบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท ๒๕. ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท ๒๖. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท ๒๗. ค่าวัสดุงานบ้านงานครัว งบประมาณ ๕,๐๐๐ บาท ๒๘. ค่าไฟฟ้าส าหรับที่ท าการองค์การบริหารส่วนต าบลและอาคารไฟส่องทางที่อยู่ในความดูแลของ อบต. งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๒๙. ค่าโทรศัพท์ของที่ท าการองค์การบริหารส่วนต าบลงบประมาณ ๒๔,๐๐๐ บาท ๓๐. ค่าไฟฟ้ากิจการประปา งบประมาณ ๖๐๐,๐๐๐ บาท ๓๑. ค่าไปรษณีย์ โทรเลข งบประมาณ ๓,๐๐๐ บาท ๓๒. ค่าโทรคมนาคม งบประมาณ ๔๐,๐๐๐ บาท ๓๓. อุดหนุน อบต.บางแค ตามโครงการจัดกีฬาท้องถิ่นสัมพันธ์ ครั้งที่ ๑๒ งบประมาณ ๓๐,๐๐๐ บาท ๓๔. อุดหนุน อบต.บางช้างเพื่อจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการบริการศูนย์ข้อมูลข่าวสารงบประมาณ ๑๕,๐๐๐ บาท ๓๕. จ่ายเป็นค่าด าเนินการจ้างสถาบันที่เป็นกลางเป็นผู้ด าเนินการส ารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากอบต.งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท ๓๖. ค่าจัดซื้อโต๊ะ ครุภัณฑ์ส านักงานส าหรับเจ้าหน้าที่ งบประมาณ ๔,๐๐๐ บาท ๓๗. จ่ายเป็นค่าจัดซื้อเครื่องโทรสาร งบประมาณ ๑๘,๐๐๐ บาท ๓๘. เครื่องโทรศัพท์ไร้สายงบประมาณ ๑๐,๐๐๐ บาท ๓๙. ค่าตู้โทรศัพท์หรือโทรศัพท์สาขา งบประมาณ ๒๕,๐๐๐ บาท ๔๐. ค่าซุ้มเฉลิมพรเกียรติ์แบบตั้ง งบประมาณ ๙๙,๕๐๐ บาท ๔๑. ตู้เก็บเอกสาร งบประมาณ ๓,๙๐๐ บาท ๔๒. จัดซื้อปริ้นเตอร์จ านวน ๑ เครื่อง งบประมาณ ๑๒,๐๐๐ บาท ๔๓. จัดซื้อรถกระเช้างบประมาณ ๕๐๐,๐๐๐ บาท ๔๔. จัดเรือท้องแบน งบประมาณ ๙๖,๐๐๐ บาท ๔๕. ค่าจ้างเหมาบริการของส่วนการคลัง งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๔๖. ค่าบ ารุงรักษา และซ่อมแซมทรัพย์สินของส่วนการคลัง งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๔๗. ค่าวัสดุส านักงานของส่วนการคลัง งบประมาณ ๓๕,๐๐๐ บาท ๔๘. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ของส่วนการคลัง งบประมาณ ๓๐,๐๐๐ บาท ๔๙. ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ของส่วนการคลัง งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท

(6)

๕๐. ครุภัณฑ์ส านักงานของส่วนการคลัง งบประมาณ ๒๔,๖๐๐ บาท ๕๑. ค่าลงทะเบียนต่างๆ บอร์ดประชาสัมพันธ์ งบประมาณ ๓๐,๐๐๐ บาท ๕๒. ค่าซ่อมแซมและบ ารุงรักษาทรัพย์สินของ อบต. เช่น ถนน สะพาน อื่นๆ งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๕๓. ค่าบ ารุงรักษาหรือซ่อมแซมกิจการประปา งบประมาณ ๓๕๐,๐๐๐ บาท ๕๔. ค่ารังวัดที่ดิน งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๕๕. ค่าวัสดุส านักงาน งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท ๕๖. ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท ๕๗. ค่าวัสดุโฆษณาและเผยแพร่ งบประมาณ ๕,๐๐๐ บาท ๕๘. ค่าวัสดุก่อสร้าง งบประมาณ ๓๐,๐๐๐ บาท ๕๙. ค่าวัสดุก่อสร้าง (กิจการประปา) งบประมาณ ๘๐,๐๐๐ บาท ๖๐. ค่าวัสดุอื่นๆ (กิจการประปา) งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท ๖๑. ค่าวัสดุไฟฟ้าและวิทยุ งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท ๖๒. ค่าวัสดุยานพาหนะและขนส่ง งบประมาณ ๕,๐๐๐ บาท ๖๓. ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น งบประมาณ ๕,๐๐๐ บาท ๖๔. ครุภัณฑ์ส านักงาน งบประมาณ ๓,๖๐๐ บาท ๖๕. ค่าจัดซื้อรถจักรยานยนต์ งบประมาณ ๓๙,๐๐๐ บาท ๖๖. ค่าบันไดอลูมิเนียมแบบเลื่อน งบประมาณ ๓๕,๐๐๐ บาท ๖๗. ค่าธรรมเนียม ค่าลงทะเบียนต่างๆ ค่ารูปเล่ม ค่าจัดท าบอร์ดประชาสัมพันธ์ งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท ๖๘. โครงการจัดการขยะมูลฝอย และการจัดการสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนอย่างมีประสิทธิภาพ งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๖๙. โครงการรณรงค์การเฝ้าระวังโรคติดต่อและไม่ติดต่อ งบประมาณ ตั้งงบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท ๗๐. โครงการเพิ่มศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๗๑. ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ งบประมาณ ๑๒๐,๐๐๐ บาท ๗๒. อุดหนุนอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้าน (อสม. ) งบประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ บาท ๗๓. ค่าลงทะเบียนต่างๆ ค่ารูปเล่ม ค่าจัดท าบอร์ดประชาสัมพันธ์ งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท ๗๔. ค่าบ ารุงรักษา และซ่อมแซมทรัพย์สินของส่วนการศึกษา งบประมาณ ๑๕,๐๐๐ บาท ๗๕. ค่ารับรองและพิธีการและงานพิธีต่างๆ งบประมาณ ๔๐๐,๐๐๐ บาท ๗๖. ค่ารับรองในการต้อนรับคณะบุคคลหรือบุคคลที่เข้ามาตรวจงาน นิเทศงานหรือเยี่ยมชม ทัศนะศึกษาดูงาน งบประมาณ ๓๕,๐๐๐ บาท ๗๗. โครงการจัดกิจกรรมแข่งขันกีฬา งบประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ บาท ๗๘. โครงการจัดงานวันเด็กแห่งชาติ งบประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ บาท ๗๙. โครงการอบรม “ ท าความดี ตามวิถีพุทธ “ ‘งบประมาณ ๖๐,๐๐๐ บาท ๘๐. โครงการฝึกอบรมส่งเสริมการเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๘๑. ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้นอกห้องเรียน งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท ๘๒. ส่งเสริมสนับสนุนการมีส่วนร่วมระหว่าง ผู้ปกครอง ครูและเด็ก งบประมาณ ๒๕,๐๐๐ บาท ๘๓. ค่าอาหารเสริมนมโรงเรียนวัดวรภูมิ และโรงเรียนวัดบางนางลี่ใหญ่ งบประมาณ ๓๓๑,๒๔๐ บาท ๘๔. ค่าอาหารเสริมนมศูนย์เด็กเล็ก งบประมาณ ๙๘,๐๐๐ บาท ๘๕. ค่าอาหารกลางวันศูนย์เด็กเล็ก งบประมาณ ๑๘๒,๐๐๐ บาท ๘๖. ค่าวัสดุส านักงาน งบประมาณ ๑๐,๐๐๐ บาท ๘๗. ค่าวัสดุเครื่องแต่งกายส าหรับเด็กด้อยโอกาส งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท

(7)

๘๘. ค่าวัสดุการศึกษา งบประมาณ ๒๐,๐๐๐ บาท ๘๙. ค่าวัสดุเชื่อเพลิงและน้ ามันหล่อลื่น งบประมาณ ๗,๕๐๐ บาท ๙๐. อุดหนุนวัดวรภูมิและโรงเรียนวัดบางนางลี่ ตามโครงการสนับสนุนอาหารกลางวัน งบประมาณ ๔๗๓,๒๐๐ บาท ๙๑. โครงการสนับสนุน อุทยาน ร.๒ งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท ๙๒. ค่าพาหนะน าเด็กเล็กไปสถานพยาบาล งบประมาณ ๕๐๐ บาท ๙๓. กล้องถ่ายรูปดิจิตอล งบประมาณ ๗,๐๐๐ บาท ๙๔. ค่าจัดซื้อเครื่องดนตรีและนาฎศิลป์ งบประมาณ ๙๕,๐๐๐ บาท ๙๕. ทุนการศึกษาแก่ข้าราชการพนักงานจ้าง ผู้บริหารท้องถิ่นและผู้ด้อยโอกาส งบประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ บาท ๙๖. เบี้ยยังชีพให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส งบประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ๙๗. เงินส ารองฉุกเฉินของต าบลสวนหลวง งบประมาณ ๔๖๐,๐๐๐ บาท ๙๘. เงินสมทบกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบิหารส่วนต าบล (สปสช.) งบประมาณ ๕๐,๐๐๐ บาท (นายไพฑูรย์ นิยมเวช) นายกองค์การบริหารส่วนต าบลสวนหลวง

(8)

รายงานผลการปฎิบัติงาน

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕

องค์การบริหารส่วนต าบลสวนหลวง

อ าเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

References

Related documents

This manual describes the operation of the HP Scanjet 4070 Photosmart scanner, including how to use the scanner, customer support, and installation troubleshooting. For

Press the Power button to turn off the scanner, disconnect the power supply from the scanner, and then turn of the computer to which the scanner is connected.. Wait 30

When the System Audio Control function is active, and the output method changes from the TV speaker to the speakers connected to the receiver automatically, loud sound may be

Press ◄ / ► button to select the file you want to watch in the file selecting menu, then press media button to display picture. When highlighting the option you select, the

• If you are using an external device, check the device’s audio output option (ex. you may need to change your cable box’s audio option to HDMI when you have a HDMI connected to

Before your product can memorised the available channels, you must select your Product signal source, Terrestrial (using an aerial) or Cable.. Select Terrestrial

Rine (Rine, 1997) while through object technology (technology of the MetaBase) as well as reuse methodology the high quality tested models (software) are already developed (from the

 Teach a wide range of undergraduate/graduate computer science courses: Intro to Computers, Data Structure and Algorithms, Operating Systems, Database Management, Data