• No results found

รายละเอ ยดของรายว ชา

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "รายละเอ ยดของรายว ชา"

Copied!
7
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิทยาศาสตร์

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา

MIC323 Oral Immunology

2. จํานวนหน่วยกิต 2(2-0-4)

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทันตแพทยศาสตร์ วิชาบังคับ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

4.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ผศ.ดร. อัจฉราวรรณ ทองมี

4.2 อาจารย์ผู้สอน รศ.ดร. ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส

ผศ. นันทนิตย์ หงษ์ศรีจินดา

5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 1 ชั้นปีที่ 3

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites) BIO131

7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) MIC324

8. สถานที่เรียน

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต

9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 10 สิงหาคม 2557

(2)

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย กลไกการ ป้องกันการติดเชื้อของร่างกาย การควบคุมการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ความผิดปกติ

ทางภูมิคุ้มกัน และองค์ประกอบทางภูมิคุ้มกันที่เกี่ยวข้องในโรคติดเชื้อ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งเกี่ยวกับด้านที่ก่อให้เกิดปัญหาในช่องปาก เพื่อเป็นทันตแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันละสามารถน าความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้

เพื่อเป็นพื้นฐานในการท างาน

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ

1. คําอธิบายรายวิชา

ศึกษาเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน เซลล์และอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน ปฏิกิริยา ระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดี กลไกการป้องกันของโฮสต์ การควบคุมการตอบสนอง ทางภูมิคุ้มกัน ความผิดปกติทางภูมิคุ้มกัน และองค์ประกอบทางภูมิคุ้มกันที่เกี่ยวข้องใน โรคติดเชื้อ

2. จํานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน การศึกษา

ภาคสนาม/การฝึกงาน ด้วยตนเอ

30 - - 60

(2ชั่วโมง x 15 สัปดาห์) - (4ชั่วโมง x 15สัปดาห์)

3. จํานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็น รายบุคคล

- อาจารย์ผู้สอนมีตารางการเรียนการสอนติดไว้หน้าห้องเพื่อให้นักศึกษาสามารถนัดเวลา มาพบเพื่อขอค าปรึกษาได้

(3)

หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

การพัฒนาผลการเรียนในกลุ่มมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่มุ่งหวัง 1. คุณธรรม จริยธรรม

1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนาการ

พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ มีความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการด ารงชีวิต มีความตรงต่อเวลา เคารพในสิทธิส่วนบุคคลและทรัพย์สินทางปัญญาของบุคคลอื่น มี

จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.2 วิธีการสอนที่จะใช้พัฒนาการเรียนรู้

บรรยาย โดยยกตัวอย่างประกอบความควรหรือไม่ควรปฏิบัติ และกฎเกณฑ์ของสังคม ต่างๆ

1.3 วิธีการประเมินผล

มีการตรวจสอบการเข้าเรียนให้ตรงเวลา และประเมินผลจากการท างานเป็นกลุ่ม 2. ความรู้

2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ

มีความรู้เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน เซลล์และอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน ปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดี กลไกการป้องกันของโฮสต์ การควบคุมการ ตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ความผิดปกติทางภูมิคุ้มกัน และองค์ประกอบทางภูมิคุ้มกันที่

เกี่ยวข้องในช่องปาก 2.2 วิธีการสอน

บรรยายโดยใช้ powerpoint มีตัวอย่างกรณีศึกษา 2.3 วิธีการประเมินผล

สอบประมวลความรู้ภาคทฤษฎี โดยการจัดสอบข้อเขียน และประเมินจากการน าเสนอ และการอภิปรายในชั้นเรียน

3. ทักษะทางปัญญา

3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา

พัฒนาให้นักศึกษาสามารถอ่านบทความทางวิชาการได้ มีการคิดวางแผนในการ ท างานอย่างเป็นระบบ

3.2 วิธีการสอน

พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์และวางแผนงานเป็น ขั้นตอน อภิปรายกลุ่ม

3.3 วิธีการประเมินผล

น าเสนอผลงานหน้าห้อง และให้เพื่อนนักศึกษาประเมินร่วมกับอาจารย์

(4)

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบที่ต้อง พัฒนา

พัฒนาให้นักศึกษาท างานร่วมกัน โดยอาจารย์เป็นผู้สังเกตการอย่างใกล้ชิด ให้

นักศึกษาทุกคนมีส่วนร่วมในการเตรียมงาน 4.2 วิธีการสอน

ให้นักศึกษามีการน าเสนอบทความวิจัยโดยท างานร่วมกันเป็นกลุ่ม 4.3 วิธีการประเมินผล

อาจารย์สังเกตการอภิปรายร่วมกันของนักศึกษา และจัดให้อาจารย์และนักศึกษา ร่วมกันลงคะแนนให้กับสมาชิกในกลุ่ม

5. ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีที่ต้องพัฒนา มีการค้นหาข้อมูลต่างๆ ที่ทันสมัยเกี่ยวกับด้านจุลชีววิทยาจากเวบไซต์ต่างๆ ที่

น่าเชื่อถือ 5.2 วิธีการสอน

มอบหมายให้นักศึกษาค้นหาบทความงานวิจัยด้านภูมิคุ้มกันวิทยา เพื่อให้นักศึกษา อ่านเพื่อความเข้าใจ

5.3 วิธีการประเมินผล

ทดสอบด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยนั้นๆ

(5)

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอน สัปดาห์

ที่

หัวข้อ/รายละเอียด จ านวน ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียน การสอนและสื่อที่ใช้

ผู้สอน 1 - Basic Concept in Immunology

- White Blood Cells and Their Immune Roles

- Organs Involved in Immune Response

2 บรรยาย Power point

รศ.ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส

2 - Antigen, - Antibody - Immunogen

2 บรรยาย Power point

ผศ.นันทนิตย์ หงษ์ศรีจินดา

3 - Complement - Cytokines

2 บรรยาย Power point

ผศ.นันทนิตย์ หงษ์ศรีจินดา 4 - Systemic Lymphoid Organs

- Mucosal Lymphoid Organs

2 บรรยาย Power point

รศ.ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส 5 - Characterization of

Immunoglobulin Molecules - Immunoglobulin Synthesis

2 บรรยาย Power point

ผศ.นันทนิตย์ หงษ์ศรีจินดา

6 - Major Histocompatibility Complex Molecules

- Organ Transplantation

2 บรรยาย Power point

รศ.ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส

7 Assignment I 2 อภิปราย ซักถาม

ท าแบบทดสอบ

รศ.ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส ผศ.นันทนิตย์ หงษ์ศรีจินดา

8 - Immunoglobulin gene 2 บรรยาย

Power point

รศ.ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส 9 - Systemic Immune Response

- Mucosal and Oral Immune Responses

2 บรรยาย Power point

รศ.ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส

10 - Immunity in Privilege Organs - Cancer Immunology

2 บรรยาย Power point

รศ.ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส 11 - Hypersensitivity

- Immunopathogenic Diseases

2 บรรยาย Power point

ผศ.นันทนิตย์ หงษ์ศรีจินดา 12 - Immunotolerance

- Autoimmune Diseases

2 บรรยาย Power point

รศ.ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส 13 - Immunoproliferative Disorders

- Immunodeficiency

2 บรรยาย Power point

รศ.ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส

(6)

สัปดาห์

ที่

หัวข้อ/รายละเอียด จ านวน ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียน การสอนและสื่อที่ใช้

ผู้สอน 14 - Vaccines

- Immunobiotechnology

2 บรรยาย Power point

ผศ.นันทนิตย์ หงษ์ศรีจินดา

15 Assignment II 2 อภิปราย ซักถาม

ท าแบบทดสอบ

รศ.ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส ผศ.นันทนิตย์ หงษ์ศรีจินดา 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้

กิจกรรม

ที่ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่

ประเมิน

สัดส่วนของการ ประเมินผล 1

2 3

สอบกลางภาค สอบปลายภาค Assignment I Assignment II

8 16

7 15

41.5%

48.5%

5.0%

5.0%

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. ตําราและเอกสารหลัก

1. Batzing, BL. Microbiolgy: an introduction. Brooks/Cole, Stamford, 2001.

2. Black JG. Microbiology: Principles and Explorations. 7th edition. Prentice-Hall Inc., New Jersey, 2008.

3. Prescott LM, Harley JP, Klein DA. Microbiology. 9th edition. McGraw-Hill Companies, Inc., New York, 2013.

4. Roberts LS, Janovy JJr. Gerald D. Schmidt & Larry S. Roberts’ Foundations of Parasitology. 8th edition. McGraw-Hill Companies, Inc., New York, 2008.

5. Roitt I, Brostoff J, Male D. Immunology. 7th edition, Mosby, 2006.

6. Abbas, AK, Lichtman, AH, Pober, JS. Cellular and Molecular Immunology, 5th edition, W.B.Sauders, 2003.

7. Forbes, BA et al. Bailey & Scott's Diagnostic Microbiology, 12thedition. Mosby, 2007.

2. เอกสารและข้อมูลสําคัญ ไม่มี

3. เอกสารและข้อมูลแนะนํา

เวบไซต์ที่เชื่อถือได้เกี่ยวกับข้อมูลทางภูมิคุ้มกันวิทยา

(7)

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน

- การสะท้อนคิดของผู้เรียน

- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน

- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน - ผลการสอบ/การเรียนรู้

- การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้

3. การปรับปรุงการสอน

- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนา รายวิชา

- การวิจัยในชั้นเรียน

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

มีคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา (คะแนน/

เกรด)

5. การดําเนินการทบทวน และการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ปรับปรุงประมวลรายวิชาทุกปีตามผลการสัมมนาการจัดการเรียนการสอน

References

Related documents

Impact of March 1 st Cuts on Middle Class Families, Jobs and Economic Security: California Unless Congress acts by March 1 st , a series of automatic cuts—called the

In a freely floating exchange rate system, if the current account is running a deficit, what are the consequences for the nation's balance on capital account and its overall balance

Pre-course survey data can be used to guide course content, and mid- and post-course surveys provide information about learning gains.. Comparison of knowledge survey

Not only have we flipped the classroom so that instruction takes place outside the classroom and class time is used for student activities, we have also

Should a burglar attempt to gain access by prying open a door or window or by smashing the glass, the alarm will be activated before the burglar can enter the home.. This type of

Before a Temporary License is issued and the facility allowed to begin operation the following items must be submitted to and/or verified by the licensing authority, i.e.,

The child care facility shall have hot and cold running water from an approved source in the area of the facility where the provider operates a child care program. Water

Mortgage Originators (MO’s) source the majority of the home loan business in the UK, USA (called mortgage agents) and Australia (called brokers).. Origination only came to SA at the