• No results found

ผ สอน : ร ชน กร ทองมา สาขาว ชาเทคโนโลย สารสนเทศ ส าน กว ชาเทคโนโลย ส งคม มหาว ทยาล ยเทคโนโลย ส ร ส รนาร เทคโนโลย สารสนเทศ 2 : ส ปดาห ท 1

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "ผ สอน : ร ชน กร ทองมา สาขาว ชาเทคโนโลย สารสนเทศ ส าน กว ชาเทคโนโลย ส งคม มหาว ทยาล ยเทคโนโลย ส ร ส รนาร เทคโนโลย สารสนเทศ 2 : ส ปดาห ท 1"

Copied!
91
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

ผูสอน

ผูสอน

:

:

รัชนีกร

รัชนีกร

ทองมา

ทองมา

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

สํานักวิชาเทคโนโลยีสังคม

สํานักวิชาเทคโนโลยีสังคม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี

สุร

สุร

นารี

นารี

(2)

ลักษณะของโปรแกรม

ลักษณะของโปรแกรม

Microsoft Excel

Microsoft Excel

โปรแกรม Microsoft Excel เปนโปรแกรมสําเร็จรูป ที่ชวยใน

การคํานวณในลักษณะของกระดาษทําการ (Spreadsheet) สามารถ

ประยุกตใชในงานตาง ๆ ไดแก

ƒ

การบัญชี

ƒ

การเงิน

ƒ

งบประมาณ

ƒ

วิเคราะหขอมูล

ƒ

ฐานขอมูล

ƒ

รายงานแบบตาง ๆ

(3)

การเรียกใชโปรแกรม

การเรียกใชโปรแกรม

Microsoft Excel

Microsoft Excel

1.

คลิกปุม

Start

1. คลิกปุม Start

2.

เลือกรายการ

Programs

2. เลือกรายการ Programs

3.

เลือกโปรแกรม

Microsoft Excel

3. เลือกโปรแกรม Microsoft Excel

ขั้นตอน

(4)

สวนประกอบของหนา

สวนประกอบของหนา

จอ

จอ

โปรแกรม

โปรแกรม

Microsoft Excel

Microsoft Excel

แถบชื่อโปรแกรม

(Title Bar)

แถบคําสั่ง

(Menus Bar)

แถบเครื่องมือ

(Tools Bar)

แถบสูตร

(Formula Bar)

ปุมควบคุม

(Control Bar)

แถบสถานะ

(Status Bar)

หนาตางงาน

(Task Pane)

(5)

แถบชื่อโปรแกรม

(Title Bar)

แสดงชื่อของโปรแกรม

และชื่อของเอกสารที่กําลังใช

งานอยู

ถาหากเปนเอกสารที่ยังไมไดบันทึก

ชื่อของ

เอกสารจะเปน

Book1.xls

(6)

แถบคําสั่ง

(Menus Bar)

รวบรวมคําสั่งการใชงานทั้งหมด

(7)

การ

การ

เรียก

เรียก

ใชงาน

ใชงาน

แถบคําสั่ง

แถบคําสั่ง

(

(

Menus Bar)

Menus Bar)

1.

ใชเมาสคลิกเลือกคําสั่งที่ตองการที่

Menus Bar

2.

ใชปุม

Alt

ที่คียบอรดรวมกับชื่อตัวแรกของเมนู

เพื่อเลือกคําสั่งที่ตองการ

เชน

การเรียกใชงาน

เมนู

File

ใหกดปุม

Alt + F

3.

ใชคําสั่งลัด

(Shortcut Key)

เชน

การเรียกใช

คําสั่ง

Copy

ใหกดปุม

Ctrl + C

(8)

แถบเครื่องมือ

(Tools Bar)

เปนการนําคําสั่งที่ใชงานบอย

มาแสดงดวยรูปภาพ

เพื่อสะดวกตอการใชงาน

เชน

การเปดไฟล

(9)

การเรียกใชงาน

การเรียกใชงาน

แถบเครื่องมือ

แถบเครื่องมือ

(

(

Tools Bar)

Tools Bar)

1

2

เลือกเมนู

View

เลือกเครื่องมือที่ตองการใชงาน

เชน

Drawing

และ

Picture

เปนตน

3

เลือกคําสั่ง

Toolbars

(10)

แถบสูตร

(Formula Bar)

(11)

ปุมควบคุม

(Control Bar)

ใชควบคุมการทํางานของหนาตาง

เชน

(12)

แถบสถานะ

(Status Bar)

แสดงสถานะการทํางานของโปรแกรม

เชน

(13)

หนาตางงาน

(Task Pane)

หนาตางสําหรับควบคุมงาน

ที่ปรากฏขึ้น

เชน

การเปดไฟล

การแทรกภาพ

(14)

ระบบความชวยเหลือ

ระบบความชวยเหลือ

(

(

Help)

Help)

รวบรวมคําอธิบายวิธีการใชงาน

ของโปรแกรมสามารถเรียกใช

โดย

ƒ

กด

F1

หรือ

ƒ

คลิกเลือกเมนู

Help

ƒ

กรอกขอความ

หรือ

ขั้นตอนในการทํางานที่

ตองการคนหา

(15)

การออกจากโปรแกรม

การออกจากโปรแกรม

Microsoft Excel

Microsoft Excel

วิธีที่

1

คลิกเมนู

File

เลือกคําสั่ง

Exit

วิธีที่

2

คลิกปุม

ที่

Title Bar

(16)

การตั้งภาษาของ

การตั้งภาษาของ

Microsoft Office

Microsoft Office

1.

คลิกปุม

Start

บนแถบงานของวินโดวส

2.

เลือกคําสั่ง

Programs

3.

เลือกคําสั่ง

Microsoft Office Tools

4.

เลือกคําสั่ง

การตั้งภาษาของ

(17)

1

2

3

(18)

สมุดงาน

สมุดงาน

(Workbook)

(Workbook)

สมุดงาน

เปนแฟมที่ใชทํางาน

และเก็บงานตางๆ

สมุดงานสามารถบรรจุแผนงาน

(Worksheet)

ไดเปน

จํานวนมาก

เปดมาครั้งแรกจะมีแผนงานทั้งหมด

3

แผน

ผูใชสามารถเพิ่มหรือตั้งคาแผนงานใหมตามตองการ

(19)

การจัดการสมุดงาน

การจัดการสมุดงาน

ƒ

การสรางสมุดงาน

(Create a workbook)

ƒ

การบันทึกสมุดงาน

(Save a workbook)

ƒ

การปดสมุดงาน

(Open a workbook)

ƒ

การเปดสมุดงาน

(Close a workbook)

(20)

การสรางสมุดงาน

การสรางสมุดงาน

1. คลิกเมนู File

2. เลือกคําสั่ง New หรือคลิกปุม

ที่ Tool Bar

3. จะปรากฏหนาจอดังภาพ

(21)

การบันทึกสมุดงาน

การบันทึกสมุดงาน

1.

คลิกเมนู File เลือกคําสั่ง Save หรือคลิกปุม

ที่ Tools Bar

2.

จะปรากฏหนาจอดังภาพ

3.

ปอนชื่อไฟลที่ตองการที่ชอง :

File name

(22)

การปดสมุดงาน

การปดสมุดงาน

วิธีที่

1

คลิกเมนู

File

เลือกคําสั่ง

Close

(23)

การเปดสมุดงาน

การเปดสมุดงาน

1.

คลิกเมนู File เลือกคําสั่ง Open หรือคลิกปุม

ที่ Tools Bar

2.

จะปรากฏหนาจอดังภาพ

(24)

แผนงาน

แผนงาน

(

(

Worksheet)

Worksheet)

แผนงาน

เปนพื้นที่สําหรับการทํางาน

เปรียบเสมือนกับกระดาษที่ใชคิดเลข

คํานวณ

(25)

คอลัมน

(Column)

แถว

(Row)

ปายชื่อของแผนงาน

(Sheet tab)

ตําแหนงกรอกขอมูล

(

Cell Pointer)

สวนประกอบของ

สวนประกอบของ

แผนงาน

แผนงาน

(26)

คอลัมน

(Column)

คือ

ชองขอมูลที่เรียงอยูใน

แนวตั้ง

มีทั้งหมด

256

คอลัมน

แถว

(Row)

คือ

ชองขอมูลที่เรียงอยูใน

แนวนอน

มีทั้งหมด

65,536

แถว

ปายชื่อของแผนงาน

(Sheet tab)

คือ

ชื่อของแผนงานที่กําลังใชงานอยู

สวนประกอบของ

สวนประกอบของ

แผนงาน

แผนงาน

(27)

การจัดการ

การจัดการ

แผนงาน

แผนงาน

ƒ

การแทรกแผนงาน

(Insert Worksheet)

ƒ

การเปลี่ยนชื่อแผนงาน

(Rename Worksheet)

ƒ

การคัดลอกแผนงาน

(Copy Worksheet)

ƒ

การลบแผนงาน

(Delete Worksheet)

(28)

ƒ

คลิกเมนู

Insert

ƒ

เลือกคําสั่ง

Worksheet

เพื่อแทรก

Worksheet

ใหม

กา

(29)

การเปลี่ยนชื่อ

การเปลี่ยนชื่อ

แผนงาน

แผนงาน

วิธีที่

1

(30)

2.

เลือกคําสั่ง

Rename

(31)

วิธีที่

2

1.

คลิกเมนู

Format

2.

เลือกคําสั่ง

Sheet

(32)

การคัดลอก

การคัดลอก

/

/

ยายแผนงาน

ยายแผนงาน

1.

คลิกเมาสปุมขวาที่แผนงาน

(Worksheet)

2.

เลือกคําสั่ง

Move or Copy

(33)

3.

จะปรากฏหนาจอดังภาพ

4.

กดปุม

OK

เลือกสมุดงาน

(book)

ที่ตองการยาย

(Move)

หรือคัดลอก

(Copy)

ตําแหนงที่ตองการ

จัดวางแผนงาน

คลิกเลือกถาตองการ

คัดลอก

(Copy)

(34)

การลบ

การลบ

แผนงาน

แผนงาน

1.

คลิกเมาสปุมขวาที่แผนงานที่ตองการลบ

(35)

3.

จะปรากฏหนาตางแสดงขอความยืนยันการลบ

Worksheet

4.

ถาตองการลบแผนงานใหคลิกปุม

Delete

(36)

1.

คลิกเซลลที่ตองการปอนขอมูล

2.

พิมพขอมูลที่ตองการ

เสร็จแลวกดปุม

หรือใชปุมลูกศร

เพื่อเลื่อนตําแหนงไปยังเซลลถัดไป

การปอนขอมูล

การปอนขอมูล

(37)

ปอนแบบนี้

ผิด

ปอนแบบนี้

ถูกตอง

ตัวอยางการปอนขอมูล

(38)

ƒ

เลือกเซลลที่ตองการ

แลวกดปุม

F2 หรือ

ƒ

เลือกเซลลที่ตองการ

แลวคลิกเมาสไปที่

Formula Bar หรือ

ƒ

Double Click

ที่เซลลที่ตองการแกไข

การแกไขขอมูล

การแกไขขอมูล

(39)

1. เลือกตําแหนงเซลลที่ตองการลบ

หากตองการลบพรอมๆ กันหลายเซลล

ใหทําการเลือกเซลล หรือกําหนดชวงขอมูลกอน

2.

2.

กดปุม

เพื่อลบขอมูล

3.

ถาตองการยกเลิกการลบ

การลบขอมูล

การลบขอมูล

(40)

การขยาย

การขยาย

หรือลดความกวางของคอลัมน

หรือลดความกวางของคอลัมน

/

/

แถว

แถว

1.

คลิกเมาสที่เสนคั่นของหัวคอลัมน / แถว

จะปรากฏเมาสเปนรูป

2.

กดปุมของเมาสซายคางไว เพื่อขยาย

หรือลดความกวางของแถวหรือคอลัมน

วิธีที่

1

วิธีที่

2

Double Click

ที่คอลัมนหรือแถว

เพื่อขยาย

หรือลดความกวางอัตโนมัติ

1.

(41)

การแทรกแถว

การแทรกแถว

หรือคอลัมน

หรือคอลัมน

1.

คลิกเมาสที่แถว

หรือคอลัมนที่ตองการแทรก

การแทรกแถว

(Row)

การแทรก

คอลัมน

(Column)

2.

คลิกเมาสปุมขวา

3.

เลือกคําสั่ง

Insert

(42)

การลบแถว

การลบแถว

หรือคอลัมน

หรือคอลัมน

1.

คลิกเมาสที่แถว

หรือคอลัมนที่ตองการลบ

2.

คลิกเมาสปุมขวา

3.

เลือกคําสั่ง

Delete

การลบแถว

(Row)

การลบ

คอลัมน

(Column)

(43)

1.

เลือกขอมูลที่ตองการคัดลอก

หรือยาย

การคัดลอก

การคัดลอก

หรือยาย

หรือยาย

ขอมูล

ขอมูล

2.

คลิกเมนู

Edit

(44)

4.

คลิกเลือกเซลลที่ตองการวางขอมูล

5.

คลิกเมนู

Edit

(45)

การเติมขอมูลอัตโนมัติ

การเติมขอมูลอัตโนมัติ

(

(

Auto Fill)

Auto Fill)

การเติมขอมูลอัตโนมัติ

เปนความสามารถ

ของโปรแกรม

Microsoft Excel

ในการปอน

ขอมูลที่มักจะใชบอยๆ

และเปนขอมูลที่ตอเนื่อง

หรือตองการเรียงลําดับ

เชน

วัน

เดือน

.

.

(46)

ตัวอยางการเติมขอมูลอัตโนมัติ

ตัวอยางการเติมขอมูลอัตโนมัติ

วิธีที่ 1.

1. ถาไมนําตัวเลขไปคํานวณ ใหใสเครื่องหมาย ( ‘ )

นําหนาตัวเลขกอน

2. ทําการเติมขอมูล โดยลากเมาสจาก

จุด AutoFill

(47)

ตัวอยางการเติมขอมูลอัตโนมัติ

ตัวอยางการเติมขอมูลอัตโนมัติ

วิธีที่ 2.

1.

พิมพตัวเลขคาเริ่มตนในเซลลแรก และพิมพตัวเลขคาที่สองใน

เซลลถัดไป

2. และทําแถบสีคลุมทั้งสองเซลล จากนั้นจึง

ทําการเติมขอมูล

โดยลากเมาส

จากจุด AutoFill

(48)

การจัดรูปแบบของขอมูล

การจัดรูปแบบของขอมูล

1.

คลิกเมนู

Format

2.

เลือกคําสั่ง

Cell

(49)

4.

เลือกแท็บ

Number

5.

เลือกประเภทของขอมูล

ที่ตองการ

6.

กดปุม

OK

(50)

การจัดรูปแบบขอมูลตัวเลข

การจัดรูปแบบขอมูลตัวเลข

(

(

Number)

Number)

รูปแบบขอมูลตัวเลข

คําอธิบาย

General

ตัวเลขที่ไมระบุรูปแบบ

Number

ตัวเลขที่ใชในการคํานวณ

ทั้งจํานวนเต็มและทศนิยม

Currency

ตัวเลขที่ใชในการคํานวณ

และตัวเลขที่เกี่ยวกับสกุลเงิน

Accounting

ตัวเลขที่ใชในการคํานวณ

และตัวเลขทางการบัญชี

Date

ขอมูลชนิดวันที่

มีรูปแบบ

.

.

และ

.

.

Time

ขอมูลเวลา

มีรูปแบบไทย

และสากล

Percentage

ขอมูลเปอรเซ็นต

Fraction

ขอมูลเศษสวน

Scientific

ตัวเลขทางวิทยาศาสตร

เชน

4.00E+00

Text

ตัวอักษร

ตัวเลข

และเครื่องหมายตางๆ

ที่ไมไดใชในการคํานวณ

Special

ขอมูลพิเศษ

เชน

หมายเลขโทรศัพท

Custom

ขอมูลที่ผูใชกําหนดขึ้นเอง

(51)

การจัดตําแหนงขอมูล

การจัดตําแหนงขอมูล

(

(

Alignment)

Alignment)

การจัดกึ่งกลางเซลล

(Center)

1.

คลิกเซลลที่ตองการจัดกึ่งกลาง

(52)

การผสานเซลล

(Merge cell)

1.

คลิกเซลลที่ตองการผสานเซลล

(53)

การจัดรูปแบบอักษร

การจัดรูปแบบอักษร

(

(

Font)

Font)

Font

แบบอักษร

Font style

ลักษณะของอักษร

Size

ขนาดของอักษร

Underline

ลักษณะของใสเสนใต

Color

สีของอักษร

Effects

ลักษณะพิเศษ

เชน

ตัวอักษรขีดทับ

ตัวยก

ตัวหอย

Font

แบบอักษร

Font style

ลักษณะของอักษร

Size

ขนาดของอักษร

Underline

ลักษณะของใสเสนใต

Color

สีของอักษร

Effects

ลักษณะพิเศษ

เชน

ตัวอักษรขีดทับ

ตัวยก

ตัวหอย

(54)

การใสกรอบ

การใสกรอบ

(

(

Border)

Border)

สีของเสนกรอบ

เลือกการเติม

เสนกรอบ

รูปแบบของ

เสนกรอบ

(55)

การจัดรูปแบบอัตโนมัติ

การจัดรูปแบบอัตโนมัติ

(

(

AutoFormat)

AutoFormat)

1.

เลือกชวงขอมูลที่ตองการจัดรูปแบบ

2.

คลิกเมนู

Format

3.

เลือกคําสั่ง

AutoFormat

4.

เลือกรูปแบบที่ตองการ

5.

กดปุม

OK

(56)

การยกเลิกการจัดรูปแบบ

การยกเลิกการจัดรูปแบบ

1.

คลิกเมนู

Edit

(57)

การคํานวณดวยโปรแกรม

การคํานวณดวยโปรแกรม

Microsoft Excel

Microsoft Excel

การคํานวณของโปรแกรม

Microsoft Excel

จะแตกตางจากการคํานวณโดยทั่วไปดังนี้

ƒ

การคํานวณจะมีลําดับความสําคัญของ

เครื่องหมาย

ƒ

การคํานวณคายกกําลัง

จะใชเครื่องหมาย

^

เชน

2

4

ตองเขียนเปน

= 2^4

(58)

ƒ

ไมสามารถใสสัญลักษณทางคณิตศาสตร

บางตัวลงในสูตรได

เชน

(Square

root)

โดยเราจะใชฟงกชัน

SQRT

แทน

เชน

=

SQRT(7)

(59)

การคํานวณใน

การคํานวณใน

โปรแกรม

โปรแกรม

Microsoft Excel

Microsoft Excel

1.

การคํานวณโดยใชสูตร

(Formula)

(60)

1.

1.

การคํานวณโดยใชสูตร

การคํานวณโดยใชสูตร

สูตร

เกิดจากการนําเครื่องหมายทางคณิตศาสตร

คาตัวเลข

หรือตําแหนงของเซลลที่เก็บขอมูลมา

คํานวณแลวเกิดคาขึ้นใหม

โดยสูตรจะอยูในรูป

สมการ

เชน

= 7+3

= 100*3/2

= A1+A2

(61)

1.

เครื่องหมายทางคณิตศาสตร

2.

เครื่องหมายการเปรียบเทียบ

3.

เครื่องหมายการอางอิง

เครื่องหมายการคํานวณ

เครื่องหมายการคํานวณ

แบงออกเปน

3

ประเภท

ดังนี้

(62)

+

บวก

-

ลบ

*

คูณ

/

หาร

%

เปอรเซ็นต

^

ยกกําลัง

1.

(63)

=

เทากับ

<>

ไมเทากับ

>

มากกวา

<

นอยกวา

>=

มากกวาหรือเทากับ

<=

นอยกวาหรือเทากับ

2.

2.

เครื่องหมายการเปรียบเทียบ

เครื่องหมายการเปรียบเทียบ

(64)

1.

สมการที่อยูในวงเล็บ

( )

2.

เปอรเซ็นต

และยกกําลัง

% ^

3.

คูณและหาร

*

และ

/

4.

บวกและลบ

+

และ

5.

เครื่องหมายเปรียบเทียบ

<, <=, > ,>=

ลําดับของเครื่องหมายการคํานวณ

ลําดับของเครื่องหมายการคํานวณ

(65)

ตัวอยาง

ตัวอยาง

จงแปลงนิพจนทางคณิตศาสตรใหเปนสูตร

ในโปรแกรม

Microsoft Excel

1. a

2

(b + (c - d))

2.

จากสูตร

=5 + 4 * 2 / 4

ผลลัพธเทากับ

7

ถาตองการผลลัพธเทากับ

4.5

ตองเขียนสูตรอยางไร

= a ^ 2 * (b + (c - d))

=(5 + 4) * 2 / 4

(66)

แบงออกเปน

3.1

เครื่องหมาย

:

(colon)

3.2

เครื่องหมาย

,

(comma)

3.3

การเวนวรรค

3.

3.

เครื่องหมายการอางอิง

เครื่องหมายการอางอิง

(67)

ใชในการระบุชวงของขอมูล

เชน

A1:A5

หมายถึง

เซลล

A1, A2, A3, A4, A5

A1:B2

หมายถึง

เซลล

A1, A2, B1, B2

3.1

(68)

ตัวอยาง

(69)

ใชในการเลือกขอมูลทั้งหมด

(Union)

เชน

A1,B2

หมายถึง

เซลล

A1

และ

B2

A1:A3, B1:B3

หมายถึง

เซลล

A1,

A2,A3, B1,B2,B3

3.2

3.2

เครื่องหมาย

เครื่องหมาย

,

,

(comma)

(comma)

(70)

ตัวอยาง

(71)

เปนการเลือกเฉพาะขอมูลที่ซ้ํากัน

(intersection)

เชน

A1:B2 B1:B3

A1:B2

หมายถึง

เซลล

A1, A2, B1, B2

B1:B3

หมายถึง

เซลล

B1, B2, B3

เลือกเฉพาะเซลล

B1, B2

3.3

(72)

ตัวอยาง

(73)

การพิมพสูตรลงในแผนงาน

การพิมพสูตรลงในแผนงาน

1.

เลือกเซลลที่ตองการ

2.

พิมพเครื่องหมาย

=

และตามดวยสูตร

แลวกดปุม

Enter

(74)

ตัวอยาง

ตัวอยาง

การพิมพสูตร

การพิมพสูตร

สูตร

(75)

การคัดลอกและวางสูตร

การคัดลอกและวางสูตร

วิธีที่

1

1.

เลือกเซลล

C4

2.

คลิกเมนู

Edit

3.

เลือกคําสั่ง

Copy

เพื่อคัดลอกสูตร

4.

เลือกเซลล

C5

ถึง

C7

(76)

5.

คลิกเมนู

Edit

(77)

วิธีที่

2

1.

เลือกเซลล

C4

2.

คลิกที่มุมขวาดานลาง

Drag

เมาสลงไปจนถึงเซลล

(78)

การตั้งชื่อเซลล

การตั้งชื่อเซลล

หรือกลุมเซลล

หรือกลุมเซลล

1.

คลิกที่เซลล

หรือกลุมเซลลที่ตองการตั้งชื่อ

2.

ตั้งชื่อเซลล

หรือกลุมเซลลที่ชอง

NAME BOX

เชน

ตั้งชื่อเซลล

B4

เปน

score

3.

กดปุม

Enter

(79)

การคํานวณสูตรโดยระบุชื่อเซลล

การคํานวณสูตรโดยระบุชื่อเซลล

หรือ

หรือ

กลุมเซลล

กลุมเซลล

ตัวอยาง

การหาผลรวมระหวางคะแนนสอบกลางภาคและปลายภาค

1.

ตั้งชื่อเซลล B4 เปน Midterm

2. ตั้งชื่อเซลล C4 เปน Final

3. พิมพ

=

SUM(Midterm,Final)

(80)

1.

การอางอิงแบบสัมพันธ

(Relative)

2.

การอางอิงแบบสัมบูรณ

(Absolute)

การอางอิงเซลล

(81)

เปนการใสชื่อของเซลลลงไปในสูตรเทานั้น

เชน

=

A1+A2

ในการคัดลอกและวางสูตร

แบบสัมพันธไปไวที่เซลลอื่นโปรแกรม

จะแกไขตําแหนงของเซลลในสูตรใหสอดคลอง

กับตําแหนงใหมที่จัดวาง

1.

1.

การอางอิงแบบสัมพันธ

การอางอิงแบบสัมพันธ

(82)

ตัวอยางการอางอิงแบบสัมพันธ

ตัวอยางการอางอิงแบบสัมพันธ

1.

เมื่อนําขอมูลในเซลล

A1

คือ

4

คูณกับ

10

ผลที่ไดคือ

40

(83)

เปนการอางอิงที่ระบุตําแหนงเซลลไวตายตัว

เมื่อคัดลอกเซลลที่อางอิงแบบสัมบูรณไปวางที่

เซลลอื่น

โปรแกรมจะไมเปลี่ยนการอางอิง

ตําแหนงเซลลสามารถอางอิงได

ทั้งแถวและคอลัมน

โดยพิมพ

$

นําหนา

หมายเหตุ

การใสเครื่องหมาย

$

ทําไดโดยการกดปุม

F4

2.

2.

การอางอิงแบบสัมบูรณ

การอางอิงแบบสัมบูรณ

(84)

1.

การอางอิงคอลัมนและแถว

เปนการล็อคตําแหนงของเซลลทั้งคอลัมนและแถว

ไมวาจะคัดลอกสูตรไวที่เซลลใด

สูตรก็จะไมเปลี่ยนแปลง

ตําแหนงของเซลล

สามารถทําโดยการใสเครื่องหมาย

$

ทั้งหนาคอลัมนและแถว

เชน

= $A$1+10

การอางอิงแบบสัมบูรณ

การอางอิงแบบสัมบูรณ

แบงออกเปน

แบงออกเปน

3

3

แบบดังนี้

แบบดังนี้

(85)

2.

การอางอิงคอลัมน

เปนการล็อคตําแหนงของเซลลเฉพาะคอลัมน

ถาคัดลอกสูตรไวที่เซลลอื่น

ตําแหนงของเซลลที่ถูกวาง

จะเปลี่ยนเฉพาะคาแถว

แตคอลัมนจะคงเดิม

สามารถทํา

โดยการใสเครื่องหมาย

$

หนาคอลัมน

เชน

= $A1+10

(86)

3.

การอางอิงแถว

เปนการล็อคตําแหนงของเซลลเฉพาะแถว

ถาคัดลอกสูตรไวที่เซลลอื่น

ตําแหนงของเซลลที่ถูก

วางจะเปลี่ยนเฉพาะคาคอลัมน

แตแถวจะคงเดิม

สามารถทําโดยการใสเครื่องหมาย

$

หนาแถว

เชน

= A$1+10

(87)

ตัวอยางการอางอิงคอลัมนและแถว

2.

ถา

Copy

สูตรและ

Paste

ที่เซลล

B4

ผลลัพธก็ยังคงเทากับ

40

ไมเปลี่ยนแปลง

เนื่องจากมีการล็อคตําแหนงคอลัมนและแถว

(88)

ตัวอยางการอางอิงคอลัมน

2.

ถา

Copy

สูตรและ

Paste

ที่เซลล

B4

ผลลัพธก็ยังคงเทากับ

40

เนื่องจาก

การล็อคตําแหนงคอลัมน

และแถวคงเริ่มตนแถวที่

1

1.

เมื่อนําขอมูลในเซลล

A1

คือ

4

คูณกับ

10

ผลที่ไดคือ

40

(89)

ตัวอยางการอางอิงคอลัมน

3.

แตถา

Copy

สูตรและ

Paste

ที่เซลล

B5

ผลลัพธจะเปลี่ยน

เปน

50

เนื่องจาก

แถวจะเลื่อนจากแถวที่

1

เปนแถวที่

2

(90)

ตัวอยางการอางอิงแถว

2.

ถา

Copy

สูตรและ

Paste

ที่เซลล

B4

ผลลัพธเทากับ

50

เนื่องจาก

การล็อคตําแหนงแถว

แตคอลัมนจะเปลี่ยนเปน

(91)

ตัวอยางการอางอิงคอลัมน

3.

แตถา

Copy

สูตรและ

Paste

ที่เซลล

C4

ผลลัพธจะเปลี่ยน

เปน

0

เนื่องจาก

คอลัมนจะเลื่อนจากคอลัมน

A

เปนคอลัมน

C

และเปนแถวที่

1

เหมือนเดิม

ซึ่งคอลัมน

C1

ไมมีขอมูล

ผลที่ไดจึงเปน

0

References

Related documents

Flashy Little Jona 2003 Schlosser Gerlinde 7,31. Deutsche Quarter Horse

The maximum purchase price for the Products shall be as set forth in the Serial Number Guide, and as modified from time to time by Philips by means of a change in the Serial

Reticular fibers are consisted mainly by collagen type III and forms thin and extensive network around the parenchymal cells of various organs for example liver and endocrine gland

The host students bring the guests to the reception at school at 0800, and meet the students again for lunch at 1110 in the Staff room (All)... Students attend host

GNLU aims to advance and disseminate learning and knowledge of law, legal processes and Interdisciplinary Study along with their role in national development: to develop in

Patrick Johnson, and Manthai Diawara who study race as a performance and examine how acceptable public behaviors for black people are based on preconceptions and stereotypes of

1.1 As part of the on-going process of managing contracts and tendering/re-tendering for goods and services Procurement Services identifies contracts which require DMPC approval

• easy operation: intelli-static function, particularly suitable for patients in pain, static can be set separately, continuously variable pressure setting according to