• No results found

คณะสถาป ตยกรรมศาสตร และศ ลปกรรมศาสตร แผนพ ฒนาบ คลากร คณะสถาป ตยกรรมศาสตร และ ศ ลปกรรมศาสตร มหาว ทยาล ยพะเยา (พ.ศ )

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "คณะสถาป ตยกรรมศาสตร และศ ลปกรรมศาสตร แผนพ ฒนาบ คลากร คณะสถาป ตยกรรมศาสตร และ ศ ลปกรรมศาสตร มหาว ทยาล ยพะเยา (พ.ศ )"

Copied!
14
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

2

แผนพัฒนาบุคลากร

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และ

ศิลปกรรมศาสตร์

มหาวิทยาลัยพะเยา

(พ.ศ. 2557-2561)

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์

(2)

3

ฉบับปรับปรุง 2558

แผนพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ในช่วงปีงบประมาณ 2557-2561 1.ความส าคัญ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ ให้ความส าคัญต่อการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ซึ่งจ าเป็นต้องบริหารและพัฒนา คณาจารย์อย่างเหมาะสมทั้งในด้านเทคนิคการสอน การประเมินผลการเรียนรู้ และการใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย รวมทั้งมีการปรับกระบวนการเรียนการสอนโดยใช้ ผลการเรียนรู้และข้อมูลจากความคิดเห็นของผู้เรียน นอกจากนั้น ยังจ าเป็นต้องมีบุคลากรสายสนับสนุนที่มีคุณภาพ แผนพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน เป็นระบบการพัฒนาบุคลากร มีจุดมุ่งหมายเพื่อความมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับ พันธกิจและเป้าหมายของคณะฯ มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและก าลังใจให้สามารถท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีมาตรการเพื่อติดตามให้ น าความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ในการปฏิบัติงาน มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้คณาจารย์ และบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ มีการประเมินผลความส าเร็จของแผนเพื่อน าผลการประเมินมาปรับปรุงแผนให้สอดคล้องต่อการพัฒนาคณะฯ 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อพัฒนาบุคลาการให้ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับพันธกิจและเป้าหมายของคณะฯ 2.2 เพื่อพัฒนาคณาจารย์ด้านวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผล 2.3 เพื่อการบริหารจัดการบุคลากรอย่างมีประสิทธิภาพ

(3)

4 3. ข้อมูลที่เป็นปัจจัยในการพัฒนา 3.1หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน หลักสูตรที่เปิดสอนในคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และสิลปกรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2553 จ านวน 3 หลักสูตร ประกอบด้วยดังนี้ 1. หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ศิลปะและการออกแบบ 2. หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา สถาปัตยกรรม 3. หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ศิลปะการแสดง 4. หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ดุริยางคศาสตร์สากล 3.2จ านวนนักศึกษา สาขาวิชา ปี1 ปี2 ปี3 ปี4 ปี5 ปี6 ปี7 รวม ศิลปะและการออกแบบ 49 19 49 41 8 8 1 175 สถาปัตยกรรมศาสตร์ 32 61 47 - - - - 141 ศิลปะการแสดง 7 11 - - - - - 18 ดุริยางคศาสตร์สากล 23 14 1 - - - - 38 รวม 111 105 97 42 8 8 1 372

(4)

5 3.3 จ านวนอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน สรุปอัตราก าลังบุคลากรสายวิชาการ (1 ตุลาคม 2557-31 พฤษภาคม 2558) สาขาวิชา รวม อาจารย์ ผู้มีความรู้ ผู้เกษียณ อายุราชการ ลาศึกษาต่อ ปฏิบัติ งานจริง ข้าราชการ พนักงาน ผู้ช่วยสอน ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ศิลปะและการออกแบบ 14 - - 8 5 1 - - - - - 3 11 สถาปัตยกรรม 18 - - 8 6 1 2 1 - - - 2 16 ศิลปะการแสดง 3 - - 2 - - 1 - - - - 1 2 ดุริยางคศาสตร์สากล 5 - - 4 - 1 - - - - - - 5 รวมจ านวนบุคลากรสายวิชาการ 40 0 22 11 3 3 1 0 0 6 34 สรุปอัตราก าลังบุคลากรสายสนับสนุน (1 ตุลาคม 2557-31 พฤษภาคม 2558) ที่ ต าแหน่ง พนักงาน พนักงานราชการ พนักงาน พ1 ผู้มีความรู้/ผู้เกษียณ ข้าราชการ รวมในต าแหน่ง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง ชาย หญิง 1 เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป - 1 - - - - - - - - - 1 2 นักวิชาการศึกษา (ด้านกิจการนิสิต) - - - - 1 - - - - - 1 - 3 บุคลากร - - - - 1 - - - - - 1 - 4 นักวิชาการคอมพิวเตอร์ - - - - 1 - - - - - 1 - 5 นักวิชาการศึกษา (ด้านวิชาการ) - - - - - 1 - - - - - 1 6 นักวิชาการบัญชีและการเงิน - - - - - 1 - - - - - 1 7 นักวิชาการพัสดุ - - - - - 1 - - - - - 1 8 นักวิเคราะห์แผนและนโยบาย - 1 - - - - - - - - - 1 รวมจ านวนบุคลากรสายสนับสนุน 2 0 6 0 0 8

(5)

6 3.4.ข้อมูลพื้นฐานโดยย่อเกี่ยวกับงบประมาณ และอาคารสถานที่ งบประมาณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ได้รับจัดสรรงบประมาณรายได้ ประจ าปี2558 แผนงบประมาณจัดการศึกษาอุดมศึกษา กองทุนเพื่อ การศึกษา หมวดอุดหนุน เป็นเงิน 2,134,470.00 บาท โดยทางคณะได้จัดสรร ดังตารางนี้ แผนงาน หมวดรายจ่าย งบประมาณ รายละเอียดงบประมาณจ าแนกตามงบรายจ่าย 2,134,470.00 แผนงานจัดการศึกษา อุดมศึกษา กองทุนเพื่อการศึกษา 1,778,120.00 1. งบเงินอุดหนุน 0.00 1.1 ค่าใช้จ่ายบุคคลากร 0.00 1.1.1 ค่าจ้างชั่วคราวรายเดือน 0.00 2. งบด าเนินงาน 1,415,110.00 2.1 ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 1,412,110.00 2.1.1 ค่าตอบแทน 949,990.00 2.1.2 ค่าใช้สอย 348,120.00 2.1.3 ค่าวัสดุ 114,000.00 2.2 ค่าสาธารณูปโภค 3,000.00 2.2.1 ค่าสาธารณูปโภค 3,000.00 3 เงินอุดหนุน 363,010.00 3.1 อุดหนุนทั่วไป 363,010.00 3.1.1 อุดหนุนการจัดการศึกษา 363,010.00 1) โครงการประกันคุณภาพการศึกษา 40,000.00 2) โครงการสนับสนุนและส่งเสริมผลิตบัณฑิต ข. 45,000.00 3) โครงการสนับสนุนและส่งเสริมศักยภาพบุคลากรและการบริหารจัดการ ก. 10,000.00 4) โครงการสนับสนุนและส่งเสริมศักยภาพบุคลากรและการบริหารจัดการ ข. 10,000.00 5) โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการผลิตบัณฑิต ก. 258,010.00

(6)

7 แผนงาน หมวดรายจ่าย งบประมาณ แผนงานวิจัย กองทุนวิจัย 170,000.00 1. เงินอุดหนุน 170,000.00 1.1 อุดหนุนทั่วไป 170,000.00 1.1.1 อุดหนุนวิจัย 170,000.00 1) โครงการสนับสนุนและส่งเสริมงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ก. 150,000.00 2) โครงการสนับสนุนการเผยแพร่งานวิจัยและงานสร้างสรรค์และพัฒนาศักยภาพนักวิจัย 20,000.00 แผนงานบริการ วิชาการแก่ชุมชน กองทุนบริการวิชาการ 20,000.00 1. เงินอุดหนุน 20,000.00 1.1 อุดหนุนทั่วไป 20,000.00 1.1.1 อุดหนุนบริการวิชาการแก่สังคม 20,000.00 1) โครงการบูรณาการบริการวิชาการ ก. 10,000.00 2) โครงการบูรณาการบริการวิชาการ ข. 10,000.00 แผนงานจัดการศึกษา อุดมศึกษา กองทุนกิจการนิสิต 30,000.00 1. เงินอุดหนุน 30,000.00 1.1 อุดหนุนทั่วไป 30,000.00 1.1.1 อุดหนุนการจัดการศึกษา 30,000.00 1) โครงการสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมนิสิต ก. 30,000.00 แผนงานจัดการศึกษา อุดมศึกษา กองทุนสินทรัพย์ถาวร 116,350.00 1. งบลงทุน 116,350.00 แผนงานศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กองทุนท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม 20,000.00 1. เงินอุดหนุน 20,000.00 1.1 อุดหนุนทั่วไป 20,000.00 1.1.1 อุดหนุนท านุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม 20,000.00 1) โครงการท านุบ ารุงศิลปวัฒนธรรม ก. 20,000.00

(7)

8 อาคารสถานที่ ปัจจุบันคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มีส านักงานเป็นอาคาร 4 ชั้น ชื่ออาคาร วิทยาศาสตร์ B24 เลขที่ 19 หมู่ที่ 2 ต าบลแม่กา อ าเภอ เมือง จังหวัดพะเยา 56000 โทร 054-466666 ต่อ 3358 แฟกซ์ 054-466715 www.safa.up.ac.th โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์มีห้องส านักงานและห้องปฏิบัติการภายในอาคารคณะฯ มีจ านวนรวม 126 ห้อง แบ่งออกเป็น 4 ชั้น ดังนี้ ชั้นที่ 1 มีจ านวน 7 ห้อง : ส่วนใหญ่จะเป็นห้องเก็บของ ซึ่งใช้เก็บอุปกรณ์ของนิสิต อาจารย์ รวมถึงแม่บ้านประจ าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และ ศิลปกรรมศาสตร์ ส่วนพื้นที่ด้านล่างจะใช้จัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมรับน้อง , จัดแสดงผลงานของนิสิตที่เสนอให้กับอาจารย์ประจ ารายวิชา เป็นต้น ชั้นที่ 2 มีจ านวน 13 ห้อง : ประกอบไปด้วยห้องคณบดี ห้องรองคณบดีและเจ้าหน้าที่ ห้องประชุม ห้องสมุดประจ าคณะฯ ห้องแสดงนิทรรศการ(ใช้ แสดงผลงานต่าง ๆ ของนิสิต) ชั้นที่ 3 มีจ านวน 59 ห้อง : จะประกอบไปด้วยห้องประชุม และ ห้องพักอาจารย์ประจ าสาขา ทั้งหมด 4 สาขา คือ สาขาศิลปะและการออกแบบ , สาขา สถาปัตยกรรมศาสตร์ , สาขาศิลปะและการแสดงและสาขาดุริยางคศาสตร์สากล ชั้นที่ 4 มีจ านวน 47 ห้อง : ประกอบไปด้วยห้องสโมสรนิสิต , ห้องเก็บผลงานของนิสิต รวมถึงบางรายวิชาก็สามารถใช้เป็นห้องส าหรับการเรียนการสอน 3.5 เอกลักษณ์และอัตลักษณ์ของคณะ คณะฯก าหนดใช้เอกลักลักษณ์และอัตลักษณ์ร่วมกับมหาวิทยาลัยพะเยาดังนี้ อัตลักษณ์ของสถาบัน - สุนทรียภาพ - สุขภาพ - บุคลิกภาพ เอกลักษณ์ของสถาบัน - “ปัญญาเพื่อความเข้มแข็งของชุมชน”

(8)

9 3.6 ผลการปรับปรุงตามการด าเนินงานในปีงบประมาณ 2557 และแนวทางการปรับปรุงแผนในปีงบประมาณ 2558 สรุปประเด็นข้อเสนอแนะ การพัฒนาปรับปรุงแผน รายละเอียดการด าเนินงาน 1. ควรผลักดันให้บุคลากรสายวิชาการเข้าสู่ ต าแหน่งทางวิชาการ หรือมีการศึกษาในระดับที่ สูงขึ้น ยุทธศาสตร์ที่ 2 กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรสายวิชาการ 1.สนับสนุนและผลักดันโดยการให้ทุนสนับสนุน บุคลากรใน การสร้างผลงานเพื่อเข้าสู่ต าแหน่งทางวิชาการ 2.สนับสนุนให้บุคลากรไปศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น 2. ควรมีมาตรการพัฒนาศักยภาพบุคลากรสาย สนับสนุน ยุทธศาสตร์ที่ 2 กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาศักยภาพบุคลากรสายสนับสนุน 1 สนับสนุนให้ท าวิจัยสถาบัน 2 สนับสนุนงบประมาณเพื่อ การศึกษาดูงานและ/หรือ อบรม 4. การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) 4.1 อาจารย์ จุดแข็ง (Strength) 1. มีบุคลากรสายวิชาการจากหลายสาขาวิชา ซึ่งมีความสามารถ หลากหลาย 2. มีบุคลากรสายวิชาการผลิตผลงานสร้างสรรค์อย่างต่อเนื่อง 3. อาจารย์อายุน้อยมีความมุ่งมั่นสูง จุดอ่อน (Weakness) 1. อัตราและต าแหน่งทางวิชาการของบุคลากรสายวิชาการ 2. ขาดแคลนบุคลากรสายวิชาการที่มีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก 3. คณะฯอยู่ในช่วงการสรรหาบุคลากรสายวิชาการใหม่ ซึ่งมีประสบการณ์การ ท างานน้อย 4. บุคลากรสายวิชาการผลิตผลงานสร้างสรรค์มีประสบการณ์น้อยในการประยุกต์สู่ งานเชิงวิชาการ

(9)

10 โอกาส (Opportunity) 1.มีบุคลากรสายวิชาการที่มีประสบการณ์ในการเผยแพร่ผลงานทั้งใน และต่างประเทศ และเริ่มมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก 2.มีบุคลากรสายวิชาการที่สามารถเสริมสร้างเครือข่ายด้านศิลปกรรม ทั้งภายในและภายนอกประเทศ(ในระดับสากล) 3.สถาบันเดิมที่บุคลากรสายวิชาการศึกษาให้การสนับสนุนด้าน หนังสือ และเอกสารวิชาการ อุปสรรค (Threat) 1.งบประมานในการพัฒนามีจ ากัด 2.บุคลากรสายวิชาการไม่สามารถบรรจุเป็นพนักงานฯ เนื่องจากไม่ผ่านผล ภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย 3.มีความยากล าบากในการสรรหาบุคลากรสายวิชาการ 4.บุคลากรสายวิชาการขาดประสบการณ์ในการแสวงหาแหล่งทุนสนับสนุนวิจัยและ งานสร้างสรรค์จากภายนอก 4.2 บุคลากรสายสนับสนุน จุดแข็ง (Strength) 1. พนักงานมีความสามัคคีและให้ความส าคัญต่อประโยชน์ส่วนร่วม 2. พนักงานมีความเสียสละ และมุ่งมั่นในการปฏิบัติงาน 3. พนักงานมีความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งสามารถน ามาประยุกต์ในการ ปฏิบัติงานได้ จุดอ่อน (Weakness) 1. อัตราพนักงานสายสนับสนุนไม่เพียงพอ 2. ขาดแคลนพนักงานที่มีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท 3. ไม่มีงานวิจัยเพื่อพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงาน โอกาส (Opportunity) 1. ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยในการขอ ความอนุเคราะห์จัดอบรมให้ความรู้เพิ่มเติม 2. มหาวิทยาลัยมีการจัดอบรมเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานเป็นประจ า 3. มีพนักงานเป็นคนในพื้นที่ซึ่งทราบถึงข้อมูลด้านต่างๆ อุปสรรค (Threat) 1. มีพนักงานที่ยังไม่ได้รับการบรรจุเป็นพนักงานของมหาวิทยาลัยเนื่องจากกรอบ ระยะเวลาการประเมินการปฏิบัติงาน 5. เป้าหมายและตัวบ่งชี้ความส าเร็จของแผน มีการด าเนินการตามแผนบรรลุตามมาตรการไม่ต่ ากว่าร้อยละ 70 ของมาตรการทั้งหมดในแผน

(10)

11 แผนกลยุทธ์ ด้านการบริหารและพัฒนาบุคลากร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา พ.ศ. 2558 – 2561 ยุทธศาสตร์ที่ 1 บ้านน่าอยู่ กลยุทธ์ แนวปฏิบัติ ตัวบ่งชี้ความส าเร็จ ตามกลยุทธ์ ค่าเฉลี่ย ผลงาน ย้อนหลัง 3 ปี (ถ้ามี) ค่าเป้าหมายของปีงบประมาณ ผู้รับผิดชอบ กลยุทธ์ 2558 2559 2560 2561 กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาและส่งเสริม พื้นที่ท างานให้ บุคลากรสามารถ ท างานอย่างมี ความสุข ได้ มาตรฐาน 1. มีการบริหารจัดการและจัดสรรการใช้พื้นที่ และครุภัณฑ์ส่วนกลางของคณะฯให้เกิดความคล่องตัว ยุติธรรม และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 2. ส่งเสริมการใช้อาคารสถานที่ให้เป็นระเบียบสะอาด เรียบร้อย 3.ส่งเสริมและให้ความร่วมมือกับระบบรักษาความปลอดภัยที่ มหาวิทยาลัยจัดหา 4. พัฒนาพื้น ที่เพื่อสร้างบรรยากาศที่ดี ส่งเสริมการปฏิบัติงาน การเรียนการสอน หรือการสร้างสรรค์ผลงานสาหรับทั้ง บุคลากรและนิสิตเพื่อก่อให้เกิดเอกลักษณ์ที่ดีขององค์กร ผลประเมินความพึงพอใจไม่ ต่ ากว่า 3.51 - 3.51 3.51 3.51 3.51 รองคณบดี ฝ่ายบริหาร/ กลยุทธ์ที่ 2 จัดหาพื้นที่เพื่อ รองรับความ ต้องการการใช้งาน ให้เพียงพอและ เหมาะสม 1. วางแผนและด าเนินการจัดหาและ/หรือปรับปรุง สถานที่ ส าหรับการเรียนการสอนให้เพียงพอแต่ละปีการศึกษาในแต่ละ สาขาวิชา 2. ด าเนินการจัดท าแผนเพื่อการออกแบบคณะสถาปัตยกรรม ศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์และน าเสนอต่อทางมหาวิทยาลัย 3. ด าเนินการจัดท าพื้นที่อ่านหนังสือ และ/หรือ พื้นที่ส่วนกลาง ของคณะ เพื่อสนับสนุนในการท างาน 1.1.มีการด าเนินการจัดหา สถานที่เรียน 2.1.มีแบบและน าเสนอต่อ มหาวิทยาลัย 3.1.มีพื้นที่ส าหรับอ่าน หนังสือ เพิ่มขึ้น - มี แผน - มี แบบ พื้นที่ เพิ่ม มี น า เสนอ พื้นที่ เพิ่ม มี น า เสนอ - รองคณบดี ฝ่ายบริหาร/

(11)

12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 งานได้ผล กลยุทธ์ แนวปฏิบัติ ตัวบ่งชี้ความส าเร็จ ตามกลยุทธ์ ค่าเฉลี่ย ผลงาน ย้อนหลัง 3 ปี (ถ้ามี) ค่าเป้าหมายของปีงบประมาณ ผู้รับผิดชอบ กลยุทธ์ 2558 2559 2560 2561 กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาและส่งเสริม ระบบการบริหาร ทรัพยากรบุคคล 1.พัฒนาโครงสร้างการบริหารงานและ โครงสร้างหน่วยงานให้มี ความชัดเจน ง่ายต่อการบริหารงานและกระจายภาระหน้าที่ให้ มีความชัดเจน 2.อบรมบุคลากรที่บรรจุใหม่เพื่อรับทราบบทบาท และ ภาระหน้าที่พื้นฐาน 3.ก าหนดภาระงานของบุคลากรให้ชัดเจน 4.มีการประเมินการท างานของบุคลากร 1.1.มีการด าเนินงานตาม แผนกลยุทธ์การบริหาร บุคลากรและพัฒนา บุคลากร และส าเร็จร้อยละ 90 2.1. มีการอบรม(หากมี บุคลากรบรรจุใหม่) 3.1.มีค าสั่งภาระงาน 4.1. ผลการประเมินไม่ต่ า กว่า 3.51 90 มี มี 3.51 90 มี มี 3.51 90 มี มี 3.51 90 มี มี 3.51 คณบดี/ รองคณบดี ฝ่ายบริหาร/ กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาศักยภาพ บุคลากรสาย วิชาการ 1.สนับสนุนและผลักดันให้บุคลากรเข้าสู่ ต าแหน่งทางวิชาการ 2.สนับสนุนให้บุคลากรไปศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น 1.1 มีบุคลากรสายวิชาการที่ ด ารงต าแหน่งทางวิชาการ ร้อยละ 15 ภายใน 4 ปี 2.1.มีบุคลากรสายวิชาการที่ ก าลังศึกษาในระดับที่สูงขึ้น 2.2.มีบุคลากรสายวิชาการ ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก เพิ่มขึ้นภายใน 4 ปี ร้อยละ15 ภาย ใน 4 ปี เพิ่ม ขึ้น ใน 4 ปี ร้อย ละ15 เพิ่ม ขึ้น ร้อย ละ15 เพิ่ม ขึ้น ร้อย ละ15 เพิ่ม ขึ้น ร้อย ละ15 เพิ่ม ขึ้น 1.รองคณบดี ฝ่ายบริหาร/ 2.รองคณบดี ฝ่ายวิชาการ/ 3.รองคณบดี ฝ่ายวิจัยและ ประกันฯ

(12)

13 กลยุทธ์ แนวปฏิบัติ ตัวบ่งชี้ความส าเร็จ ตามกลยุทธ์ ค่าเฉลี่ย ผลงาน ย้อนหลัง 3 ปี (ถ้ามี) ค่าเป้าหมายของปีงบประมาณ ผู้รับผิดชอบ กลยุทธ์ 2558 2559 2560 2561 3.สนับสนุนงบประมาณเพื่อ การศึกษาดูงาน และ/หรือ อบรม เพื่อพัฒนาตนเอง และมีระบบติดตามการน าความรู้และทักษะ ที่ ได้จากการพัฒนาตนเองไปใช้ในกระบวนการ เรียนการสอน 4.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) ระหว่างบุคลากร หรือ นิสิตภายในหน่วยงาน 5.สนับสนุนงบประมาณส าหรับการพัฒนา ภาษาอังกฤษส าหรับ บุคลากร (ในกรณีที่เสนอขอ) 3.1. มีงบประมาณสนับสนุน และมีระบบติดตามหลังจาก ดูงาน 4.1.มีการจัดกิจกรรม 5.1.มีการสนับสนุน (ในกรณีที่เสนอขอ) - - - มี มี มี มี มี มี มี มี มี มี มี มี 1.รองคณบดี ฝ่ายบริหาร/ 2.รองคณบดี ฝ่ายวิชาการ/ 3.รองคณบดี ฝ่ายวิจัยและ ประกันฯ กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาศักยภาพ บุคลากรสาย สนับสนุน 1 สนับสนุนให้ท าวิจัยสถาบัน 2 สนับสนุนงบประมาณเพื่อ การศึกษาดูงานและ/หรือ อบรม เพื่อพัฒนาตนเอง มีระบบติดตามการน าความรู้และทักษะที่ ได้จากการพัฒนาตนเองไปใช้ในกระบวนการ เรียนการสอน - มีผลงานวิจัยสถาบัน เพื่อ การขอเลื่อนต าแหน่งเป็น ผู้ช านาญการพิเศษทุก 2ปี - 1 ชิ้น ทุก2 ปี - - 1 ชิ้น ทุก2 ปี รองคณบดี ฝ่ายวิจัยและ ประกัน คุณภาพ กลยุทธ์ที่ 4 ผลักดัน ให้มี บุคลากรเพียงพอ ตามเกณฑ์ที่ มหาวิทยาลัยก าหนด 1 ผลักดันให้มีบุคลากรสายสนับสนุนเพิ่มขึ้น ให้เหมาะสมกับ ภาระงาน 2 ผลักดันให้มีบุคลากรสายวิชากรเพิ่มขึ้น ให้เหมาะสมกับ เกณฑ์ของสภาวิชาชีพ และ/หรือ เกณฑ์ค่า FTES ตามที่ มหาวิทยาลัยก าหนด - มีพนักงานบรรจุเต็มอัตรา - เต็ม อัตรา เต็ม อัตรา เต็ม อัตรา เต็ม อัตรา 1.รองคณบดี ฝ่ายบริหาร 2.รองคณบดี ฝ่ายวิชาการ

(13)

14 ยุทธศาสตร์ที่ 3 คนเป็นสุข กลยุทธ์ แนวปฏิบัติ ตัวบ่งชี้ความส าเร็จ ตามกลยุทธ์ ค่าเฉลี่ย ผลงาน ย้อนหลัง 3 ปี (ถ้ามี) ค่าเป้าหมายของปีงบประมาณ ผู้รับผิดชอบ กลยุทธ์ 2558 2559 2560 2561 กลยุทธ์ที่ 1 สนับสนุนและ ส่งเสริมให้บุคลากรมี คุณภาพชีวิตที่ดี 1. ให้คุณค่ากับบุคลากรที่มีความมุ่งมั่น ทุ่มเท มีความเห็นอก เห็นใจผู้อื่น และปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม โดยสร้างขวัญ ก าลังใจ ให้ บุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน 2. ส่งเสริม ให้บุคลากรมีสุขภาพกายที่ดี เช่น สนับสนุนให้มีการ ตรวจสุขภาพ ร่วมกิจกรรม กีฬาต่างๆ มีบริการน้ าดื่ม 3. ส่งเสริมให้บุคลากรมีสุขภาพจิตที่ดี โดยมีกิจกรรม นันทนาการในรูปแบบต่างๆ เพื่อ เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในองค์กร ผลประเมินความพึงพอใจไม่ ต่ ากว่า 3.51 - 3.51 3.51 3.51 3.51 รองคณบดี ฝ่ายบริหาร/

(14)

15 หมายเหตุ ตัวบ่งชี้ความส าเร็จของแผนกลยุทธ์และค่าเป้าหมาย มี 1 ตัวบ่งชี้ คือ ร้อยละของตัวบ่งชี้ความส าเร็จตามกลยุทธ์ในแผนกลยุทธ์แต่ละปี (พ.ศ. 2558 ถึง พ.ศ. 2561) ที่ด าเนินการลุล่วงตามค่าเป้าหมาย ไม่น้อยกว่า 100 เกณฑ์การประเมิน โดยการแปลงค่าร้อยละของตัวบ่งชี้ความส าเร็จตามกลยุทธ์ในแผนกลยุทธ์ที่ด าเนินการแล้วเสร็จ เป็นคะแนนระหว่าง 0-5 ก าหนดให้ร้อยละ 100 เท่ากับคะแนนความส าเร็จ 5 คะแนน ทั้งนี้ ความหมายของระดับคะแนนความส าเร็จ คือ 5.00 - 4.51 หมายถึง ดีมาก 4.50 – 3.51 หมายถึง ดี 3.50 – 2.51 หมายถึง พอใช้ 2.50 - 1.50 หมายถึง ต้องปรับปรุง และ 1.50 – 0.00 หมายถึง ต้องปรับปรุงเร่งด่วน ฉบับ วันที่ พ.ย. 58

References

Related documents

inserting 17 replacing 17 storing 18, 38 testing 36 printer accessories 7, 39 cleaning 35 connecting 33 documentation 3 error messages 48 menu 8 parts 4 power problems 43

ink level, checking 17 inserting 17 replacing 17 storing 18, 42 testing 40 printer accessories 9, 42 cleaning 39 connecting 35 documentation 3 error messages 53 menu 10 parts 4

At Step 5 if you did not click the “After Printer Installation, install GARO Status Monitor” checkbox on, eject the CD-ROM from the computer, select “Yes, I want to restart

The North Carolina Department of Health and Human Resources is building upon Carolina Access, its Primary Care Case Management (PCCM) program, to create the Community Care Plan,

Two subsystems work on the Knowledge Network: the Case-Based retrieval (to reuse engineering knowledge) (Bilgic & Fox 1996) and the Systems Management Agent (SMA) (to manage

Higher Secondary education and completed higher vocational training in procurement, commercial and mercantile law, supply chain management, inventory management, logistics

e.g. You can claim for meals while staying overnight, or if travelling for business before 7am or after 8pm and are away from the office for more than half a day.

Patients’ self-reports also revealed moderate to excellent improve- ments (on average) in burn scar area, and significant improvements in self-esteem at 3 months post-treatment ( P