• No results found

1/5 แบบ วก.1 สถานท ต ดต อ ห องพ กสาขาว ชาพ นฐาน คณะมน ษยศาสตร ต ก 6 ช น 2 โทร เวลาท ต ดต อได จ นทร - ศ กร เวลา น.

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "1/5 แบบ วก.1 สถานท ต ดต อ ห องพ กสาขาว ชาพ นฐาน คณะมน ษยศาสตร ต ก 6 ช น 2 โทร เวลาท ต ดต อได จ นทร - ศ กร เวลา น."

Copied!
5
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

1/5

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

University of the Thai Chamber of Commerce ประมวลรายวิชา (Course Outline)

ประจ าภาค (Semester)...ปลาย ปีการศึกษา (Academic Year) ...2554.. คณะ (Faculty)...คณะมนุษยศาสตร์,คณะวิทยาศาสตร์, คณะวิศวกรรมศาสตร์, คณะเศรษฐศาสตร์ คณะนิติศาสตร์

٭

ค าอธิบายรายวิชา หลักการและการประยุกต์ใช้ความรู้เรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลทางจิตวิทยา พฤติกรรมทาง สังคมของบุคคลและกลุ่มเกี่ยวกับการรับรู้ การเรียนรู้ แรงจูงใจ ความฉลาดทางอารมณ์ การมีวุฒิภาวะ และสุขภาวะ การน าและการท างานเป็นทีม การจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ หลักการคิดและ การใช้เหตุผล การวิเคราะห์และเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์และการน าไปสู่การรู้จักตนเอง เข้าใจผู้อื่น และปรับตัวได้ มีคุณธรรมและจริยธรรมในการด าเนินชีวิต

٭

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักจิตวิทยาเพื่อการบริหารตนเอง 2. เพื่อน าเสนอหลักการและทฤษฎีทางจิตวิทยาขั้นพื ้นฐานที่เกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์เพื่อการบริหาร ตนเอง 3. เพื่อน าหลักการทางจิตวิทยาเพื่อการบริหารตนเองมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 4. เสริมสร้างทักษะการท างานร่วมกับผู้อื่น แบบ วก.1 รหัส HG 022 ชื่อวิชา การบริหารตนเอง (Self-Management) จ านวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต บรรยาย / คาบ / สัปดาห์ 3 / สัปดาห์ ปฏิบัติ / คาบ / สัปดาห์ - อาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.อุสา สุทธิสาคร อ.อรสา รัตนวงษ์ ผศ.จริยา นวลนิรันดร์ ผศ. ดุลยา จิตตะยโศธร อ.อะริยา เลาหสุรโยธิน อ.ราเชนทร์ สิงหเรศร์ สถานที่ติดต่อ ห้องพักสาขาวิชาพื ้นฐาน คณะมนุษยศาสตร์ ตึก 6 ชั้น 2 โทร. 6424 เวลาที่ติดต่อได้ จันทร์ - ศุกร์ เวลา 8.30 - 17.00 น.

(2)

2/5

٭

วิธีการเรียนการสอน 1. การบรรยายและการอภิปราย 2. การท ากิจกรรมเสริมรายบท 3. การท าแบบฝึกหัดประจ าบท 4. การค้นคว้าข้อมูลจากต ารา เอกสาร บทความ งานวิจัย และอินเตอร์เนต 5. การท ารายงานทั้งกลุ่มและเดี่ยว

٭

กิจกรรมส าหรับนักศึกษา 1. ฟังบรรยาย 2. ท ากิจกรรมเสริมความรู้ประจ าบท 3. ท าแบบฝึกหัดประจ าบท 4. ท ารายงานทั้งกลุ่มและเดี่ยว 5. การน าเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน

٭

การประเมินผลการเรียน ตลอดภาคการศึกษา มีคะแนนเต็ม 100 คะแนน จาก 1. คะแนนเก็บ 40 % - แบบฝึกหัดและกิจกรรมในชั้นเรียน 20 % - รายงานกลุ่ม 10 % - ความร่วมมือในชั้นเรียน 10 % 2. คะแนนสอบกลางภาค 25% 3. คะแนนสอบปลายภาค 35 % แบบ วก.1

(3)

3/5

٭

เนื้อหารายวิชา ตารางการบรรยาย / ปฏิบัติการ สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จ านวน (ชม.) กิจกรรมการเรียน การสอน/สื่อที่ใช้ ผู้สอน 1 แนะน ารายวิชาการบริหาร ตนเอง 3 - อ่านประมวลรายวิชาใน e- learning - เข้าเว็บไซด์มกค.เพื่อศึกษา บทเรียน e- learning ผศ.ดร.อุสา สุทธิ สาครและคณะ 2-3 บทที่ 1 การเรียนรู้ 6 -ตัวอย่างเหตุการณ์ในชีวิตที่เกิด จากการเรียนรู้การวางเงื่อนไขสิ่ง เร้า (Classical conditioning) - วิเคราะห์กรณีตัวอย่างการ เสริมแรงทางบวก,ลบและการ ลงโทษ -การเรียนรู้พฤติกรรมจริยธรรมใน สังคม ผศ.ดร.อุสา สุทธิ สาครและคณะ 4 บทที่ 2 การรับรู้ 3 - วิเคราะห์หลักการรับรู้ ผศ.ดร.อุสา สุทธิ สาครและคณะ 5-6 บทที่ 3 บุคลิกภาพ 6 - กิจกรรมกลุ่มระดมสมอง เสริมสร้างบุคลิกภาพการมี จริยธรรม - แบบทดสอบบุคลิกภาพ MPI ผศ.ดร.อุสา สุทธิ สาครและคณะ 7 บทที่ 4 เชาวน์อารมณ์ (EQ) และเชาวน์ปัญญา (IQ) 3 - ท าแบบทดสอบ EQ จาก website กรมสุขภาพจิต - กรณีศึกษา ผศ.ดร.อุสา สุทธิ สาครและคณะ สอบกลางภาค 23-28 ม.ค. 2555 แบบ วก.1

(4)

สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จ านวน (ชม.) กิจกรรมการเรียน การสอน/สื่อที่ใช้ ผู้สอน 8-9 บทที่ 5 การรู้จักตนเองและ การบริหารตนเอง 6 - การฝึกการบริหารตนเอง - self concept - self esteem - กิจกรรมหน้าต่างหัวใจ ผศ.ดร.อุสา สุทธิ สาครและคณะ 10 บ ท ที่ 6 ผู้ น า แ ล ะ ก า ร ท างานเป็นทีม 3 - กรณีศึกษาผู้น าที่ดี - กิจกรรมระดมสมอง จริยธรรม ส าหรับผู้น า ผศ.ดร.อุสา สุทธิ สาครและคณะ 11 บทที่ 7 การจัดการความ ขัดแย้งในตนเอง 3 - ส ารวจความขัดแย้งในตนเองและ หาแนวทางการจัดการความ ขัดแย้งในตนเองอย่างสร้างสรรค์ ผศ.ดร.อุสา สุทธิ สาครและคณะ 12 บทที่ 8 สุขภาพจิตและสุข ภาวะ 3 - เทคนิคการคลายเครียด - แบบวัดสุขภาพจิต ผศ.ดร.อุสา สุทธิ สาครและคณะ 13 บทที่ 9 ทักษะการสื่อสาร 3 -ฝึกทักษะการสื่อสารแนว T.A. ผศ.ดร.อุสา สุทธิ สาครและคณะ 14 บทที่ 10 แรงจูงใจ 3 - แบบส ารวจแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ - กรณีศึกษาผู้มีแรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ผศ.ดร.อุสา สุทธิ สาครและคณะ 15 บทที่ 11 การตั้งเป้าหมาย ในชีวิต 3 - SWOT ANALYSIS ผศ.ดร.อุสา สุทธิ สาครและคณะ 16 สอบปลายภาค 26มีค.- 7เม.ย. 2555 แบบ วก.1

(5)

5/5

٭

เอกสารค้นคว้าเพิ่มเติม

1. มูลสารจิตวิทยา. ดร.ชัยพร วิชชาวุธ. ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2530.

2. เชาวน์อารมณ์ emotional quotient- EQ: ดัชนีเพื่อความสุขและความส าเร็จของชีวิต. วีระวัฒน์ ปันนิตามัย ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551. 3. จิตวิทยาทั่วไป. คณาจารย์ภาควิชาจิตวิทยา คณะศิลปศาสตร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 2544. 4. จิตวิทยาทั่วไป หน่วยที่ 1 – 7 และ หน่วยที่ 8 – 15. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชา คหกรรม ศาสตร์. 2529. 5. จิตวิทยาการศึกษา. ดร.สุรางค์ โค้วตระกูล. ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541. 6. จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย. ดร.ศรีเรือน แก้วกังวาล. ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2538. 7. ทฤษฎี และเทคนิคการปรับพฤติกรรม. ดร.สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2539. 8. จิตวิทยาสังคม. มนัส จินตนะดิกกุล. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 2532. 9. จิตวิทยา. อรสา รัตนวงษ์. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 2533. 10. จิตวิทยาอุตสาหกรรม. อรสา รัตนวงษ์. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 2540. 11. จิตวิทยา. ดุลยา จิตตะยโศธร. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 2546.

12. Handbook of self-regulation. Boekaerts, M., pintrich, P.R., Zeidner, M. (Eds.) San Diego, Calif.: Academic press, 2005.

13. Self-directed Behavior: Self- Modification for Personal Adjustment. Watson, D. L & Tharp, R. G. Pacific grove, Calif: Brooks/cole, 1993.

References

Related documents

This has significant implications for sensor network de- sign and we evaluate the impact on three commonly used sensor network services – communication, in-network data aggregation,

Whereas the mainstream literature in this field assumes risk neutrality of taxpayers – with some notable exceptions like Chu (1990) and Glen Ueng and Yang (2001) – this paper

foreign assistance framework provides a foundation for understanding how national objectives in the international environment have evolved, and if DHS’ role should increase

Please Note: If you book a Royal Caribbean International holiday in conjunction with other services (such as flights, on-shore accommodation and/or ground transfers) which

Thermal management is increasingly becoming a challenge in the electronics industry, as rapid advancements in computational performance are accompanied by a

Regions Code Description 0 United States Completions Year 2013 Jobs Timeframe 2013 - 2014 Datarun 2014.3 – QCEW Employees... Appendix A - Data Sources

The installation drawing shows the Discrete Input tied to Low/Ground which maps Synchro Output 1 to True Heading (ARINC 429 label 314).. External Synchro Z to C signal

WE HOPE THAT YOU WILL BE ABLE TO JOIN US NEXT YEAR AND BRING A TEAMMATE OR FRIEND TO BOWL WITH YOU.. YOUR CONTINUANCE TO HELP MAKE THIS EVENT ONE OF