• No results found

รายละเอ ยดของรายว ชา คร ศาสตร มหาว ทยาล ยราชภ ฏกาแพงเพชร หมวดท 1 ข อม ลท วไป

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "รายละเอ ยดของรายว ชา คร ศาสตร มหาว ทยาล ยราชภ ฏกาแพงเพชร หมวดท 1 ข อม ลท วไป"

Copied!
10
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

รายละเอียดของรายวิชา ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะครุศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา 102210 การจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5) Principle of Learning Management

2. จ านวนหน่วยกิจ 3 หน่วยกิจ (2-2-5) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา ครุศาสตร์บัณฑิต 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน ผศ.ดร.เรขา เรขา อรัญวงศ์ และ... 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ชั้นปีที่ 1-2 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) ถ้ามี ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) ถ้ามี ไม่มี 8. สถานที่เรียน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏก าแพงเพชร 9. วันที่จัดท าหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด พฤศจิกายน 2553

(2)

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน มีทักษะด้านการสอน การพัฒนาสื่อและการวัดประเมินผล และมีคุณลักษณะของการเป็นครู 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา / ปรับปรุงรายวิชา เพื่อปรับปรุงจุดเน้น และสัดส่วนการจัดกิจกรรมให้เน้นการปฏิบัติ เพื่อสร้างความเข้าใจด้วยตนเองของ นักศึกษาให้มากขึ้น หมวดที่ 3 ลักษณะและการด าเนินการ 1. ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน รูปแบบการเรียนรู้ และการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน การ ออกแบบและการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ การบูรณาการเนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้ การบูรณาการการการ เรียนรู้แบบเรียนรวม เทคนิคและวิทยาการการเรียนรู้ การใช้และการผลิตสื่อและการพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ การจัดการการเรียนรู้แบบยึดผู้เรียนเป็นส าคัญ การประเมินผลการเรียนรู้ ฝึกการออกแบบการเรียนรู้และท า แผนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน 2. จ านวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ / งาน ภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง บรรยาย 32 ชั่วโมงต่อ ภาคการศึกษา เมื่อนักศึกษาเฉพาะราย หรือ เฉพาะกลุ่มมีความต้องการ พิเศษ และเมื่อตารางเรียน ปกติตรงกับวันหยุดจัดให้มี การสอนเสริมในช่วงเวลาที่ ตกลงกันได้ ฝึกปฏิบัติการ 32 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษา การศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 3. จ านวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้ค าปรึกษาและแนะน าทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล อาจารย์ประจ าวิชา ก าหนดเวลาให้ค าปรึกษาเป็นรายบุคคล ,หรือกลุ่มย่อย โดยใช้เอกสารและ/หรือ website หรือ อาจารย์ประจ าวิชา ก าหนดเวลาและก าหนดเวลาและก าหนดกลุ่มนักศึกษาหรือนักศึกษารายบุคคลพบเพื่อให้ ค าปรึกษาเป็นรายบุคคล

(3)

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรมจริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา พัฒนาผู้เรียนให้มีจรรยาบรรณวิชาชีพการศึกษาตามคุณสมบัติ ดังนี้ - มีวินัยในตนเองและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ - รักศรัทธา รับผิดชอบต่อวิชาชีพการศึกษา - ประพฤติปฏิบัติตน เพื่อเป็นครูดีทั้งกาย วาจา และจิตใจ 1.2 วิธีการสอน - นักศึกษาปฏิบัติหรือท ากิจกรรม สะท้อนประสบการณ์ อภิปราย และสรุป - ผู้สอนก าหนดสถานการณ์ นักศึกษาวางแผน ปฏิบัติ อภิปราย และสรุป - นักศึกษาสังเกต บันทึก น าเสนอ อภิปราย สรุป 1.3 วิธีการประเมินผล ประเมินจากการสังเกตและบันทึกพฤติกรรม การประมวลข้อมูลที่แสดงความก้าวหน้า หรือพัฒนา พฤติกรรม ที่เหมาะสม ของนักศึกษา ได้แก่ การเข้าเรียน การท างานและส่งงาน การแสดงออก ด้านการพูด การปฏิบัติ เพื่อพัฒนาทักษะการเป็นครู มีการตรวจสอบการเข้าเรียนของนักศึกษาทุกครั้ง และส่งเสริมการมีวินัยในตนเอง 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ ทฤษฎีการเรียนการสอน รูปแบบการเรียนการสอนการบูรณาการ การจัดการเรียนที่ยึดผู้เรียนเป็นส าคัญ การประเมินผลการเรียนรู้ สมรรถนะด้านการออกแบบการเรียนรู้ การเขียนแผนการสอนการปฏิบัติการสอน การสร้างและใช้สื่อ เพื่อการเรียนรู้และการวัดประเมินผล 2.2 วิธีการสอน - นักศึกษาค้นคว้าจากแหล่งและช่องทางต่าง หรือกรณีตัวอย่าง เพื่อยืนยันแนวคิดหลักการ อภิปรายหลังการน าเสนอ และสรุป - ผู้สอนบรรยาย ยกตัวอย่าง - ผู้สอนน าเสนอตัวอย่างหลากหลาย นักศึกษาสรุปลักษณะร่วมสร้างเป็นความคิดรวบยอด - ผู้สอนน าเสนอหลักการหรือความรู้หลัก นักศึกษาประยุกต์ใช้ความรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ สะท้อนความคิดและสรุป 2.3 วิธีการประเมินผล - ใช้แบบสอบถาม ตรวจให้คะแนน ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อปรับปรุง - มอบหมายให้ท างานเชิงเอกสาร เช่น รายงาน เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ หรือ ประมวลข้อมูลจากการค้นคว้าแล้ว น าเสนอโดยใช้เทคโนโลยีเป็นตัวตรวจผลงานร่วมกันโดยมีเกณฑ์ ให้ข้อมูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุง

(4)

3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา - การเป็นครูที่ดีมีพฤติกรรมการพูดที่เหมาะสม การปฏิบัติการสอนและและการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง - การคิดอย่างเป็นระบบสมเหตุสมผล และรอบคอบในการจัดกระบวนการเรียนรู้ และวัดประเมินผลผู้เรียน 3.2 วิธีการสอน - ผู้สอนก าหนดสถานการณ์ นักศึกษาปฏิบัติ สะท้อนความคิด หรือวิพากษ์จากการปฏิบัติ ประเมินกลวิธีการคิด - ผู้สอนก าหนดสถานการณ์ จ าลองหรือเงื่อนไขงาน นักศึกษาวางแผน เตรียมการปฏิบัติงาน เสนอผลงาน สะท้อนความคิด วิพากษ์และสรุปหรือบันทึกการเรียนรู้ของตนเอง - ผู้สอนก าหนดกรอบงานในสภาพจริง นักศึกษาวางแผนลงมือปฏิบัติ ผลิตผลงานหรือขั้นงาน น าเสนอผลงาน อภิปราย หรือวิพากษ์ หรือ ร่วมกันประเมิน และสรุปหรือบันทึกการเรียนรู้ของตนเอง 3.3 วิธีการประเมินผล - ผู้สอนสังเกตและบันทึกพฤติกรรม ประเมินพฤติกรรมตามเกณฑ์ เสนอผลย้อนกลับ เพื่อการปรับปรุง - ผู้สอนและนักศึกษาร่วมกันตรวจผลงานนักศึกษาตามเกณฑ์ และเสนอแนวทางพัฒนาปรับปรุง 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา พัฒนาทักษะการท างานเป็นกลุ่มย่อย ในการวางแผนเตรียมการ สร้างสื่อ และปฏิบัติการสอน เน้นการสื่อสาร ระหว่างกัน การรับฟังความคิดเห็น และความรับผิดชอบต่อผลงานกลุ่ม 4.2 วิธีการสอน ผู้สอนก าหนดสถานการณ์การท างานหรือการเรียนรู้เป็นกลุ่มนักศึกษาร่วมกันวางแผน ปฏิบัติ และประเมิน กลุ่ม ตนเอง 4.3 วิธีการประเมินผล นักศึกษาประเมินตนเอง ประเมินผลงานกลุ่ม ตามเกณฑ์ สะท้อนความคิดต่อกลุ่มเพื่อปรับปรุง 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา - ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษาค้นคว้าเพื่อการน าเสนอผลงานและการส่งงาน รวมทั้งการพัฒนา สื่อการเรียนรู้ - ทักษะการวัดและการประเมินผล โดยมีการค านวณ การวิเคราะห์ การแปลผล การจ าแนกตามเกณฑ์ การประมวลค่า กลาง และการน าเสนอ (สื่อสาร) ผลการวัดและประเมินผล 5.2 วิธีการสอน ผู้สอนก าหนดสถานการณ์การศึกษาค้นคว้า การให้นักศึกษาปฏิบัติการด้านการวัดและประเมินผล นักศึกษา ปฏิบัติงานด าเนินการค านวณวิเคราะห์ และต้องน าเสนอผลโดยใช้เทคโนโลยีที่นักศึกษามีทักษะพื้นฐาน

(5)

หมายเหตุ นักศึกษาครุศาสตร์มีวิชาคอมพิวเตอร์ส าหรับครู และวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษาเป็นวิชาบังคับอยู่ แล้ว 5.3 วิธีการประเมินผล ผู้สอน และนักศึกษาร่วมกันวิพากษ์เพื่อการปรับปรุงทักษะด้านการวัด และประเมินผลของนักศึกษา หรือให้ นักศึกษารู้ว่าตนเองต้องพัฒนาทักษะการวัดและประเมินผลเพิ่มเติมในรายวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 6. ทักษะการจัดการเรียนรู้ 6.1 ทักษะการจัดการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ - ทักษะการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสร้างความคิดรวบยอด (concept) สร้างความรู้ด้วยตนเอง (construction) และ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน 6.2 วิธีสอน

- ฝึกนักศึกษาปฏิบัติการสอนโดยใช้รูปแบบการสอน concept attainment และ synectics

6.3 วิธีการประเมินผล

นักศึกษาปฏิบัติการสอนโดยใช้รูปแบบการสอน concept attainment และ synectics แล้วสะท้อนความคิด สรุป บันทึกการเรียนรู้ของตนเองและก าหนดแนวทางการพัฒนาตนเองต่อไป

(6)

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล แผนการสอน สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จ านวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน 1. ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน - ทฤษฎีพหุปัญญา - ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา - ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วย ตนเอง 2+2  ศึกษาเอกสารเชิงทฤษฎี ปฏิบัติการ ส ารวจตนเองตามกรอบทฤษฎี พหุปัญญา ปฏิบัติการวิเคราะห์ผล วิพากษ์ สรุปและ บันทึกการเรียนรู้ของตนเอง  ศึกษาเอกสารโดยฝึกการอ่าน เพื่อสร้าง ความเข้าใจ การวิเคราะห์ Key word การ อธิบายจากความเข้าใจของตนเองรวมทั้ง เขียนสรุปสาระส าคัญด้วยตนเอง 2 การสอนและการจัดการ เรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นส าคัญการ ออกแบบและการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ (ทดสอบทฤษฎีการเรียนรู้และ การสอนและการจัดการเรียนการ สอนที่ยึดผู้เรียนเป็นส าคัญ) 2+2 (+5) นักศึกษาบันทึกบทบาทผู้เรียนผู้สอน (จากสถานการณ์สอนจริง หรือจากดู VDO) วิเคราะห์ตามกรอบของการจัดการ เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ วิพากษ์ และ สรุป เพื่อการน าความรู้ไปใช้ 3-4 ปฏิบัติการวางแผนการ เตรียมการและปฏิบัติการอสน (ตามสถานการณ์ที่ก าหนด) (ประเมินทักษะปฏิบัติการสอน โครงการ สังเกต บันทึก ประเมิน) 4+4 (+5+) ผู้สอนก าหนดสถานการณ์ หรือ เงื่อนไข ด้านสาระส าคัญ และจุดประสงค์การ เรียนรู้นักศึกษาปฏิบัติงานเป็นกลุ่มย่อยใน การวางแผนการเตรียมการ (นอกเวลา)และ การปฏิบัติการสอน (ในเวลา)นักศึกษา กลุ่มอื่นสังเกต บันทึกพฤติกรรมผู้สอน ผู้เรียน วิพากษ์ สะท้อนผลการปฏิบัติงาน ของตนและกลุ่ม สรุปและบันทึกการ เรียนรู้ของตนเอง สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จ านวน กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน

(7)

ที่ ชั่วโมง 5 เทคนิคและวิทยากรจัดการ เรียนรู้ - การบริหารสมอง (Brain Gym) - เทคนิคหมวกคิด 6 ใบ - เทคนิคการใช้ค าถาม - เทคนิคช่วยจ า (Mnemonic) (ประเมินพฤติกรรมการพูด การ ปฏิบัติและกลวิธีการคิดของ นักศึกษา โดยการสังเกต บันทึก ประเมิน) 2+2 (+5) ก าหนดสถานการณ์ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ เทคนิคต่าง ๆ นักศึกษาปฏิบัติสะท้อน ความคิดหรือวิพากษ์จากการปฏิบัติ ร่วมกันประเมินเทคนิคและกลวิธีการคิด 6 การออกแบบและการจัดการ เรียนรู้และแบบเรียนร่วม (ตรวจแผนฯ เชิงเอกสาร โดยมี เกณฑ์ให้ข้อมูลย้อนกลับ) 2+2 (+5+5) ศึกษา อภิปราย บรรยาย ยกตัวอย่าง และ ก าหนดสถานการณ์ให้ออกแบบและเขียน แผนการจัดการเรียนรู้ น าเสนอ อภิปราย สรุปและบันทึกการเรียนรู้ของตนเอง 7-8 การใช้การผลิตสื่อและการ พัฒนานวัตกรรมในการเรียนรู้ (ตรวจผลงาน เช่น สื่อหรือ นวัตกรรม ตามเกณฑ์ให้ข้อมูล ย้อนกลับ) 4+4 (+5+5) ก าหนดให้ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งเรียนรู้ หลากหลายนักศึกษาวางแผนลงมือ ปฏิบัติการ ผลิตผลงานหรือชิ้นงาน (สื่อ) น าเสนอผลงานอภิปรายหรือวิพากษ์งาน หรือร่วมกันประเมิน สรุปและบันทึกการ เรียนรู้ของตนเอง 9 สอบกลางภาค 4 10 รูปแบบการเรียนการสอน

- Concept Attainment Model

2+2 (+5) ผู้สอนน าเสนอหลักการ ทฤษฎี นักศึกษา ปฏิบัติหรือประยุกต์ใช้รูปแบบต่าง ๆ สะท้อนความคิด สรุปและบันทึกการ เรียนรู้ของตนเอง 11 - Synectic Model (ประเมินทักษะปฏิบัติ โดย สังเกต บันทึก ประเมิน และ นักศึกษาประเมินความก้าวหน้าของ ตนเอง) ผู้สอน สรุป ทฤษฏี ส าคัญที่เป็นพื้นฐาน ของรูปแบบการเรียนการสอนต่าง ๆ และ ก าหนดให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม

(8)

สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จ านวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน 12-13-14 ฝึกทักษะการออกแบบการเรียน เขียนแผนการเรียนรู้ โดยบูรณา การเทคนิคหรือสาระ หรือใช้ รูปแบบต่าง ๆ และปฏิบัติการ สอน 4+4+4 (+5+5+5) ผู้สอนก าหนดงานนักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม น ามา คิดออกแบบ เขียนแผนปฏิบัติการ สอน วิพากษ์หรือร่วมกันประเมิน - ทักษะการท างานกลุ่มย่อย - พฤติกรรมการสอนและ คุณลักษณะความเป็นครู (ตรวจเอกสารประเมินตาม เกณฑ์นักศึกษา ประเมิน ความก้าวหน้าด้วยทักษะการคิด และการท างานกลุ่ม) 15 การวัดและประเมินผล - การวัดและประเมิน ด้านความรู้ - การวัด และประเมิน ด้านการปฏิบัติ - การวัดและประเมินด้าน คุณลักษณะ 2+2 (+5) ผู้สอนน าเสนอความรู้หลักการเกี่ยวกับการ วัดและประเมินผล นักศึกษาปฏิบัติการ วัดผลวิเคราะห์และประเมินผลการเรียนรู้ สรุป บันทึกการเรียนรู้ของตนเอง ตาม สถานการณ์ที่ก าหนด (วัดและประเมินทักษะการ วิเคราะห์เชิงตัวเลขของนักศึกษา จากผลงานของนักศึกษา) 16 ทบทวนความรู้ทักษะและ คุณลักษณะความเป็นครู 2+2 (+5) นักศึกษาจัดนิทรรศการเสนอส่วนที่เป็น ความรู้ ทักษะของตนและการ เปลี่ยนแปลงทัศนคติของตน (รายบุคคล) และผลงานรวมของหมู่เรียน (ประเมินความเป็นครู โดย นักศึกษาและผู้สอนร่วมกัน ประเมิน) 17 สอบปลายภาค

(9)

แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรม ที่ ผลการเรียนรู้ วิธีประเมิน สัปดาห์ที่ ประเมิน สัดส่วนของ การ ประเมินผล 1 ความรู้เกี่ยวกับทฤษฏีการเรียนการ สอน และ การจัดการเรียนรู้ที่ยึด ผู้เรียนเป็นส าคัญ (1) ใช้แบบทดสอบย่อย (2) ตรวจบันทึกสรุปการ เรียนรู้ของนักศึกษา เพื่อให้ ข้อมูลย้อนกลับนักศึกษาเป็น รายบุคคลหรือเพื่อปรับปรุง การเรียนรู้ของนักศึกษา 2 5/100 2 ทักษะปฏิบัติด้านเทคนิค วิทยาการ จัดการเรียนรู้ต่าง ๆ รวมทั้งทักษะ การสร้างและใช้สื่อการเรียนรู้ (1) เมื่อนักศึกษาปฏิบัติ ผู้สอนสังเกต บันทึก ประเมิน และวิพากษ์ หรือให้ข้อมูล ย้อนกลับทันที 3-5 10/100 (2) เมื่อนักศึกษาส่งแผนการ สอน หรือสื่อผู้สอนตรวจ ตามเกณฑ์ 6-8 5/100 3 สอบกลางภาค ความรู้ เกี่ยวกับ เทคนิค และวิทยาการจัดการเรียนรู้ ใช้แบบทดสอบ 9 10/100 4 ทักษะการออกแบบกิจกรรมและ ปฏิบัติการสอนตามรูปแบบการ สอน concept Attainment และ Synectic รวมทั้ง การออกแบบการ สอนบูรณาการ เมื่อนักศึกษาปฏิบัติ ผู้สอน สังเกตบันทึก ประเมินและ วิพากษ์ หรือให้ข้อมูล ย้อนกลับแก่นักศึกษา 10-14 20/100 5 ทักษะทางความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ รวมทั้งทักษะด้านการวิเคราะห์ เมื่อนักศึกษาท างานกลุ่ม น าเสนองานโดยใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศผู้สอน และนักศึกษารวมกันสะท้อน ความคิดผู้สอนให้ข้อมูล ย้อนกลับ 1-15 โดย ภาพปีงบ ส าหรับ ครั้งที่ 15 ประเมิน ทักษะเชิง ตัวเลข 10/100

(10)

กิจกรรม ที่ ผลการเรียนรู้ วิธีประเมิน สัปดาห์ที่ ประเมิน สัดส่วนของ การ ประเมินผล 6 สอบปรายภาคเกี่ยวกับความรู้ เนื้อหาทั้งรายวิชา ใช้ข้อสอบ 17 40/100

References

Related documents

classroom approach for several reasons. First, most students do not have previous post-secondary experience. Thus, they enter the course with fewer expectations and may be less

All the worksheets used during lectures and tutorial activities have been published on the Moodle page of the course through MapleNet, a facility which allows the publication

School nurses make a difference in the lives of their students and communities by providing quality care in the school setting, linking families with community resources,

Since the question asks for the value of a single quantity and the answer choices involve only numbers, we can use the Start In The Middle techniqueA. Since the question asks for

Each academic unit is required to have an assessment plan on file with the Office of Assessment and Accreditation that describes expected student learning outcomes for each

This exam will cover all course materials, i.e., readings, lecture notes, class examples, and lab material. The format of this exam may consist of short answer and essay questions

The RTAA supports the current code structure and specifically those covering the broader construction industry ( Code of Practice: Managing Risks in Construction Work)

This Policy does not provide indemnity in respect of claims directly or indirectly arising from Personal Injury or Property Damage in connection with the following