• No results found

รายงานว จ ยในช นเร ยน

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "รายงานว จ ยในช นเร ยน"

Copied!
11
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

รายงานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ในรายวิชา เทคโนโลยี 1

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2

ด้วยรูปแบบการเรียนรู้ แบบเพื่อนสอนเพื่อน

โดย

นางเกศินีนาฏ แย้มนิล

ต าแหน่ง ครู ระดับ ค.ศ.1

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554

โรงเรียนดงขุยวิทยาคม อ.ชนแดน จ.เพชรบูรณ์

สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40

(2)

ความเป็นมาของปัญหา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ก าหนดแนวทางการจัดการศึกษาโดยยึด หลักว่าผู้เรียนส าคัญที่สุดทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความ ถนัดของผู้เรียน ค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุ คคล กระบวนการจัดการศึกษามุ่งเน้นการฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหา และผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคมและเทคโนโลยี ก่อให้เกิดทั้งผลดีและผลเสียต่อการด าเนินชีวิตในปัจจุบันของบุคคล ท าให้เกิดความยุ่งยากซับซ้อนมากยิ่งขึ้น จ าเป็นต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการศึกษาเพื่อสร้างคนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพ พร้อมที่จะแข่งขัน และร่วมมืออย่างสร้างสรรค์ในเวทีโลก (กรมวิชาการ. 2545 : 1) นอกจากสื่อที่ดี แล้วเทคนิคการสอนก็เป็นอีกอย่างหนึ่ง ที่สามารถกระตุ้นผู้เรียนให้เกิดการพัฒนาได้ ซึ่งเทคนิคการสอนที่สามารถตอบสนองความสามารถที่แตกต่างกันของนักเรียนส่งเสริมให้นักเรียนมีการ ช่วยเหลือกันในการเรียนอีกทั้งผู้เรียนได้พัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ได้ดี คือ รูปแบบการเรียนแบบร่วมมือ แบบเพื่อนสอนเพื่อน วิธีการเรียนรู้ของผู้เรียนมิได้มาจากครูแต่ผู้เดียว แต่สามารถเรียนรู้จากเพื่อนนักเรียนด้วยกัน เพราะ นักเรียนด้วยกันย่อมประสบปัญหาในการเรียนคลายๆกัน เมื่อคนหนึ่งเรียนรู้เริ่มเข้าใจ ก็สามารถช่วยเหลือเพื่อ ได้ว่าปัญหาที่ขัดข้องอยู่ที่ใด คนอื่นก็สามารถข้ามพ้นปัญหาดังกล่าวนั้นได้ การเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนผู้เรียน มีโอกาสฝึกภาษาเท่ากันขณะที่ฝึกในกลุ่ม ทุกคนมีโอกาสได้แนะน ากันเองได้มากกว่าครู เนื่องจากวัยของ นักเรียนที่ใกล้เคียงกัน (Young,1972 อ้างถึงในสมหวัง นิลพันธ์, 2536) การเรียนรู้จากเพื่อนด้วยกันท าให้ นักเรียนเกิดการเข้าใจได้ดีและเหมาะสม อันเนื่องจากวัยของเด็กที่ใกล้กันซึ่งการที่นั้นนักเรียนผู้เรียนและ นักเรียนผู้สอนได้ใช้ภาษาพูดในระดับเดียวกันย่อมก่อให้เกิดความเข้าใจง่ายขึ้น นักเรียนผู้สอนเข้าใจปัญหาของ ผู้เรียนได้ง่าย เพราะลักษณะปัญหาที่คล้ายคลึงกับปัญหาที่เขาได้ประสบมาด้วยตนเองนักเรียนจะรู้สึกเป็นอิสระ ในการซักถาม และส ารวจปัญหาต่างๆ นักเรียนผู้สอนส่วนใหญ่จะมีความสนใจและตั้งใจที่จะสอนมาก รวมทั้งมี การเตรียมพร้อมกับบทเรียนเสมอ นักจากนี้ยังมีความเชื่อมั่นในตนเองมาก มีความริเริ่มกล้าพูดกล้าแสดงออก (สมหวัง นิลพันธ์, 2536) จากประสบการณ์การสอนวิชาคอมพิวเตอร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 ในภาคเรียนที่ 1 พบว่า การเรียนวิชาคอมพิวเตอร์นั้น นักเรียนส่วนใหญ่ เมื่อถึงเวลาเรียนคอมพิวเตอร์ในแต่ละสัปดาห์ จะพยายาม ท างานตามค าสั่งของครูผู้สอน ให้เสร็จและใช้เร็วและใช้เวลาน้อยที่สุดเพื่อที่จะเหลือเวลาในการใช้งาน อินเทอร์เน็ต ประกอบกับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 ขาดทักษะการท างานเป็นกลุ่ม ขาดการช่วยเหลือกัน ในหมู่เพื่อนฝูง คนเก่งต่างรีบท างานให้เสร็จเพื่อที่จะได้มีเวลาในการใช้งาน คอมพิวเตอร์ ส าหรับคนที่อ่อนหรือ ปานกลาง ก็จะส่งงานช้า ซึ่งบางครั้งอาจจะส่งงานไม่ตรงเวลาด้วยซ้ าไป และจากการสังเกต นักเรียนที่ไม่ เข้าใจในเนื้อหา จะเลือกที่จะซักถามเพื่อนที่อยู่ข้างๆ มากกว่าที่จะซักถามครูผู้สอน ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเกิดความ

(3)

สนใจที่จะน ารูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบเพื่อนสอนเพื่อน มาเพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียน การสอนให้เกิดประสิทธิภาพ และช่วยกระตุ้นให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน ต่อไป จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ในรายวิชา เทคโนโลยี 1ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 2. เพื่อส่งเสริมทักษะการท างานร่วมกันเป็นกลุ่ม ความส าคัญของการศึกษาค้นคว้า - ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักท างานเป็นกลุ่ม ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน - เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนในรายวิชาอื่น ต่อไปโดยอาศัย รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบเพื่อนสอนเพื่อน ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 1. เนื้อหาในรายวิชา เทคโนโลยี 1 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2.1 ประชากร หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2554โรงเรียนดงขุย วิทยาคม สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 จังหวัดเพชรบูรณ์ จ านวน 130 คน 2.2 กลุ่มตัวอย่าง หมายถึงนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนดงขุย วิทยาคม สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 จังหวัดเพชรบูรณ์ จ านวน 36คนซึ่งได้มา โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย 3. ตัวแปร 3.1 ตัวแปรต้น (Independent Variable) ได้แก่ รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ แบบเพื่อนสอนเพื่อน 3.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) ได้แก่ ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียน นิยามศัพท์เฉพาะ - การเรียนแบบร่วมมือ แบบเพื่อนสอนเพื่อน หมายถึง การจัดการเรียนรู้ที่แบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่ม เล็กๆ 2- 4 คน สมาชิกในกลุ่มจะมีทั้งเพศหญิงและเพศชายและสามาชิกในกลุ่มจะมีความสามารถแตกต่างกัน คือ ความสามารถสูง กลาง ต่ า ก าหนดให้ผู้เรียนเรียนร่วมกัน เป็นการช่วยเหลือกันระหว่างเพื่อนในวัยเดียวกัน ร่วมมือในการท างานเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ช่วยกันอธิบายให้ สมาชิกในกลุ่มมีความรู้ความเข้าใจในการเรียนเหมือนกับที่ตนเข้าใจ มีการฝึกทักษะในการเรียนร่วมกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน

(4)

- ทักษะการคิดวิเคราะห์ หมายถึง ความสามารถของนักเรียนที่คิด วิเคราะห์ ใคร่ครวญ เพื่อให้ได้ ความรู้ความเข้าใจ ที่จะน าประกอบการตัดสินใจแก้ปัญหา และสร้างงานชิ้นใหม่ ซึ่งวัดได้จากการตอบค าถาม บนเว็บบอร์ด แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ และแบบทดสอบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ โดยจะวิเคราะห์ใน 3 ลักษณะได้แก่ 1) วิเคราะห์เนื้อหา 2) วิเคราะห์ความส าคัญ 3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ - แบบทดสอบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ หมายถึง เครื่องมือวัดทักษะการคิดวิเคราะห์โดยอาศัย ค าถามที่มุ่งเน้นเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ที่ผู้วิ จัยสร้างขึ้น โดยยึดหลักการ วิเคราะห์ 5 W 1 H ในการสร้างแบบทดสอบ คือ What Where When Why Who และ How เพื่อให้เกิด ความชัดเจนในการคิดวิเคราะห์ มากขึ้น ข้อสอบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์เป็นแบบ เลือกตอบ 4 ตัวเลือก - แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ หมายถึง ค าถามเชิงคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาเกี่ยวกับเนื้อหา การ รายวิชาเทคโนโลยี 1 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยยึดหลัก การวิเคราะห์ 1) วิเคราะห์เนื้อหา 2) วิเคราะห์ความส าคัญ 3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ อย่างมีเหตุผล สมมติฐานงานวิจัย 1. นักเรียนที่เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 มีคะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้ แบบร่วมมือแบบเพื่อนสอนเพื่อน สูงกว่าก่อนเรียน 2. นักเรียนมีพฤติกรรมการท างานกลุ่ม ดีขึ้น

(5)

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการท าวิจัยในชั้นเรียน ครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. เนื้อหารายวิชา และตัวชี้วัด รายวิชาเทคโนโลยี 1 3. รูปแบบระบบการเรียนการสอนและทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการเรียนรู้ แบบร่วมมือแบบ เพื่อนสอนเพื่อน 4. ทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ 5. เทคนิคในการตั้งค าถามเพื่อให้เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์

กรอบแนวคิดในการท าวิจัยในชั้นเรียน

+

รูปแบบการจัดการเรียนการสอน

แบบร่วมมือ

แบบเพื่อนสอนเพื่อน

เทคนิคการตั้งค าถามเชิงวิเคราะห์

5 W 1 H

พฤติกรรมการ ท างานกลุ่ม ดีขึ้น คะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์รายวิชา เทคโนโลยี 1 เพิ่มขึ้น

(6)

วิธีด าเนินการการวิจัย ผู้วิจัยได้ด าเนินการตามขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 3. วิธีด าเนินการ 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะห์ข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนดงขุยวิทยาคม ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 จังหวัดเพชรบูรณ์จ านวน 130 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนดงขุยวิทยาคม ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 40 จังหวัดเพชรบูรณ์จ านวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 2.1 แบบทดสอบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ รายวิชา เทคโนโลยี 1 2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม 2.3 แผนการสอนรายวิชา เทคโนโลยี 1 โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบเพื่อนสอนเพื่อน

(7)

วิธีด าเนินการการวิจัย - วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง ปี 51 - วิเคราะห์ เนื้อหาและตัวชี้วัด รายวิชา เทคโนโลยี 1 - วิเคราะห์ผู้เรียน - ศึกษารุปแบบการสอนแบบต่างๆ - ศึกษาเทคนิคการตั้งค าถามเชิง วิเคราะห์

จัดท าแผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชา เทคโนโลยี

1

โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบ

ร่วมมือแบบเพื่อนสอนเพื่อน

จัดการเรียนการสอน

แบบร่วมมือแบบ

เพื่อนสอนเพื่อน

กับนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปีที่

4/2

ทดสอบวัด

ทักษะการคิด

วิเคราะห์

ทดสอบวัด

ทักษะการคิด

วิเคราะห์

สังงเกตุ พฤติกรรมการ ท างานกลุ่ม

วิเคราะห์

ข้อมูล

(8)

การเก็บรวบรวมข้อมูล ในการท าวิจัยครั้งนี้ เป็นการทท าวิจัยเชิงทดลอง ผู้วิจัยจึงมีการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้ การทดลองใช้แบบการทดลอง กลุ่มทดลองกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (One-Group Pretest-Posttest Design) สอบก่อน การจัดกระท า สอบหลัง T1 X T2 ความหมายของสัญลักษณ์ X แทน การจัดการเรียนการสอนแบบ Cooperative Learning T1 แทน แบบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ก่อนเรียน (Pretest) T2 แทน แบบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียน (Posttest) การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้น าข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมมาวิเคราะห์ โดยการหาค่า 1. หาค่าเฉลี่ย (X) จากสูตรอ้างถึง (บุญชม ศรีสะอาด, 2535, หน้า 102)

N

X

X

เมื่อ X แทน คะแนนเฉลี่ย

X แทน ผลรวมของคะแนน N แทน จ านวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง หาค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) (ไชยยศ เรืองสุวรรณ, 2533, หน้า 138) จากสูตร S.D. = ) ( ) ( 1 2 2  

N N X X N เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน

X2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัวยกก าลังสอง (

X)2แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกก าลังสอง N แทน จ านวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง

(9)

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

จากการทดลองเรียนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือ รายววิชา เทคโนโลยี 1 ส าหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4/2 ผลการเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียน ปรากฏผลดังตาราง ตารางแสดงการเปรียบเทียบคะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์ก่อนและหลังเรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือ

คะแนนทักษะการ

คิดวิเคราะห์

จ านวน

นักเรียน

คะแนนเต็ม

ค่าเฉลี่ย

X

ส่วนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน(

S.D.

)

ก่อนเรียน

หลังเรียน

36

36

20

20

7.67

13.33

2.33

1.91

จากตาราง พบว่าผลการเปรียบทักษะการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นมัธ ยมศึกษาปีที่ 4/2 ก่อน เรียน คะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 7.67 และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 2.33 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียน เท่ากับ 13.33 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานเท่ากับ 1.91 ดังนั้น แสดงว่าทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนหลังเรียน ด้วยรูปแบบวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบเพื่อนสอนเพื่อน สูงกว่าก่อนเรียน

(10)

จากการการสังเกตพฤติกรรมกลุ่ม ระหว่างการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือ รายววิชา เทคโนโลยี 1 ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปรากฏผลดังตาราง ตารางแสดงการสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่ม กลุ่ม ช่วยเหลือกัน การมีส่วนร่วม ความ กระตือรือร้น ความตรงต่อ เวลา ความมีน้ าใจต่อ กัน กลุ่มที่ 1 มาก มาก มาก ปานกลาง มาก กลุ่มที่ 2 มาก มาก มาก มาก มาก กลุ่มที่ 3 มาก มาก มาก มาก มาก กลุ่มที่ 4 มาก มาก มาก มาก ปานกลาง กลุ่มที่ 5 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง มาก มาก กลุ่มที่ 6 มาก มาก มาก ปานกลาง ปานกลาง กลุ่มที่ 7 มาก มาก มาก มาก มาก กลุ่มที่ 8 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง มาก มาก กลุ่มที่ 9 มาก มาก มาก ปานกลาง ปานกลาง กลุ่มที่ 10 มาก มาก มาก มาก มาก กลุ่มที่ 11 มาก มาก มาก มาก มาก จากตารางการสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่มพบว่า การช่วยเหลือกัน เฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก การมีส่วน ร่วม เฉลี่ย อยู่ในระดับมาก ความกระตือรือร้น เฉลี่ย อยู่ในระดับมาก ความตรงต่อเวลาและ ความมีน้ าใจ ต่อกัน เฉลี่ย อยู่ในระดับมาก สรุปผลการวิจัย ผลการเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียนด้วยวิธีการเรียนรู้ แบบร่วมมือ แบบ เพื่อนสอนเพื่อน ในรายวิชาเทคโนโลยี 1 ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่า คะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน แสดงว่าเทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือ แบบเพื่อนสอนเพื่อน ประกอบกับเทคนิคการตั้งค าถาม กระตุ้นการคิดวิเคราะห์ ท าให้ ทักษะการคิดวิเคราะห์ ของนักเรียน เพิ่มขึ้น 2. ผลจากการสังเกตพฤติกรรมการท างานกลุ่มของนักเรียนหลังเรียนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือ แบบ เพื่อนสอนเพื่อน ในรายวิชาเทคโนโลยี 1 พบว่า การช่วยเหลือกัน เฉลี่ยอยู่ในระดับ มาก การมีส่วน ร่วม เฉลี่ย อยู่ในระดับมาก ความกระตือรือร้น เฉลี่ย อยู่ในระดับมาก ความตรงต่อเวลาและ ความมีน้ าใจ ต่อกัน เฉลี่ย อยู่ในระดับมากอยู่ในระดับมาก แสดงให้เห็นว่าเทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือ แบบเพื่อนสอนเพื่อน กระตุ้นให้นักเรียนรู้จักการท างานเป็นกลุ่มช่วยเหลือซึ่งกันและกันจึงท าให้พฤติกรรม ของนักเรียนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขี้น

(11)

อภิปรายผล ผลการเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนก่อนเรียนและ หลังเรียนด้วยวิธีการเรียนรู้ แบบร่วมมือ แบบ เพื่อนสอนเพื่อน ในรายวิชาเทคโนโลยี 1 พบว่า คะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงให้เห็นว่า กระบวนการในการจัดการเรียนการสอน ภายใต้รูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบเพื่อนสอนเพื่อน ผนวกกับเทคนิคในการตั้งค าถาม ท าให้นักเรียนได้ พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ จึงส่งผลให้ทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนหลังเรียนเพิ่มขึ้น ซึ่งสอดคล้อง กับ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2548 : 23)ได้ให้ความเห็นว่า การตั้งค าถาม ผู้เรียน จ าเป็นต้องรู้จักการตั้งค าถามให้เป็น ขณะเดียวกันการตั้งค าถามที่ดี ครูต้องคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดหา ค าตอบซึ่งจะช่วยฝึกฝนเพิ่มพูนทักษะในการคิดของผู้เรียน อย่าตั้งค าถามที่ใช้เฉพาะความจ าหรือความรู้มา ตอบเท่านั้นควรตั้งค าถามที่ผู้เรียนสามารถใช้ความเข้าใจใช้การคิดที่จะน าไปประยุกต์ใช้ ใช้การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินผล ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาของ เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ์ (2530 : 28 - 29) กล่าวว่า การใช้ค าถามของครูมักจะเป็นไปในลักษณะรวบรัดตัดตอนเป็นค าถามระดับต่ าที่มุ่งเพื่อความรู้ ความจ ามากกว่าการคิด ไม่เปิดโอกาสให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้หรือสามารถขยายแนวคิดของตนได้ และ ค าถามของครูยังไม่เร้าให้นักเรียนใช้ความสามารถด้านการคิดระดับที่สูงกว่าความรู้ความจ ามาคิดแก้ปัญหา หรือหาค าตอบ สอดคล้องกับสุรศักดิ์หลาบมาลา (2533 : 15) ที่กล่าวในท านองเดียวกันว่า ในการที่จะท าให้ เด็กผู้เรียน อย่าตั้งค าถามที่ใช้เฉพาะความจ าหรือความรู้มาตอบเท่านั้น ควรตั้งค าถามที่ผู้เรียนสามารถใช้ ความเข้าใจใช้การคิดที่จะน าไปประยุกต์ใช้ใช้การคิดวิเคราะห์สังเคราะห์และการประเมินผล

References

Related documents

[r]

Table 4—Range of abundance of dinoflagellate cyst species cysts g–1 dry sediment, total number of stations sampled in each port, total cyst abundance, total number of species,

The components of social assistance that have significant effect on the reduction of poverty are cash transfer to the elderly, cash transfer to orphans and vulnerable children,

If STI is defined, conceptualized, and understood as a mechanism that is, for example, useful in converting African history, stories and folklores, crafts, culture and traditions, and

country makes it onto the list "if the Secretary determines that such jurisdiction has corporate, business, bank, or tax secrecy rules and practices which, in

The purpose of this study was to compare first-year student nurses’ knowledge of skin cancer, sun-pro- tective behaviors, perceptions of acquiring skin cancer, and the role of the

Patrick’S Day: the comPlete GuiDe to Social meDia marketinG for BuSineSSeS...

Students who hold an associate of science degree from a regionally-accredited institution or an associate of arts degree from a regionally-accredited institution that is not