• No results found

รายละเอ ยดของรายว ชา หมวดท 1 ข อม ลโดยท วไป

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "รายละเอ ยดของรายว ชา หมวดท 1 ข อม ลโดยท วไป"

Copied!
17
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

เอกสารหมายเลข มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา 5711107 เขียนแบบวิศวกรรม Engineering Drawing 2. จํานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต (2-2-5) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้า วิชาเฉพาะ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อาจารย์วีระพล พลีสัตย์ อาจารย์ผู้สอน 5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน ภาคเรียนที่ 1 / ชั้นปีที่ 1 หมู่เรียน 5617201, 5617202 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี) ไม่มี 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) ไม่มี 8. สถานที่เรียน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด 30 พฤษภาคม 2556

(2)

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1. ศึกษาเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของการเขียนแบบ 2. ศึกษาเกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณ์เขียนแบบ 3. ศึกษาเกี่ยวกับมาตรฐานงานเขียนแบบ 4. ศึกษาเกี่ยวกับภาพทรงเรขาคณิต 5. ศึกษาเกี่ยวกับการกําหนดขนาด 6. ศึกษาเกี่ยวกับภาพฉาย 7. ศึกษาเกี่ยวกับภาพสามมิติ 8. ศึกษาเกี่ยวกับการเขียนภาพสเกตซ์ 9. ศึกษาเกี่ยวกับการเขียนแบบภาพตัด 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นักศึกษาสามารถนําความรู้ทางงานเขียนแบบทางวิศวกรรมไปประยุกต์ใช้ในศาสตร์อื่นๆรวม ไปถึงการนําออกไปใช้ในชีวิตจริงด้วย หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ 1. คําอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับอุปกรณ์เขียนแบบและการใช้ประประยุกต์รูปเรขาคณิตตัวอักษรและตัวเลข การเขียน แบบออร์โธกราฟิกส์และการสเกต เส้นระนาบและรูปทรงการเขียนภาพ ไอโซเมตริกและภาพออบลีคและการ เสกต ภาพตัด และข้อตกลงทางปฏิบัติ แบบและกระบวนการผลิต การกําหนดขนากมิติของรูปลักษณ์ มาตรฐาน การกําหนดขนาดมิติของขนาด ตําแหน่งแบะความสัมพันธ์ความหยาบของผิวงาน ระบบงานสวม และเกณฑ์คงวามคลาดเคลื่อนเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต เกลียวสกรูอุปกรณ์ยึดที่เป็นเกลียว ลิ่ม และอื่นๆแนะนําการใช้โปรแกรมเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ ปฏิบัติการในหัวข้อการเขียนแบบวิศวกรรม 2. จํานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง บรรยาย 28 ชั่วโมงต่อ ภาคการศึกษา สอนเสริมตามความ ต้องการของนักศึกษา เฉพาะราย ฝึกภาคปฏิบัติ 28 ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษา การศึกษาด้วยตนเอง 5 ชั่วโมงต่อ 1 สัปดาห์ 3. จํานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

(3)

- อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะ รายที่ต้องการ) - อาจารย์แจ้งเรื่องต่างๆเกี่ยวกับวิชาที่สอน หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรมจริยธรรม มาตรฐานผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน การประเมินผลการเรียนรู้ 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 [c]เข้าใจและซาบซึ้งใน วัฒนธรรมไทยตระหนักในคุณค่า ของระบบคุณธรรมจริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต 1.2 [c] มีวินัยตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.3 [c]มีภาวะความเป็นผู้นํา และผู้ตามสามารถทํางานเป็นทีม สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลําดับ ความสําคัญ เคารพสิทธิและรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้ง เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของ ความเป็นมนุษย์ 1.4 [c]สามารถวิเคราะห์และ ประเมินผลกระทบจากการใช้ ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กรสังคมและสิ่งแวดล้อม 1.5 [c]มีจรรยาบรรณทาง วิชาการและวิชาชีพและมีความ รับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบ วิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททาง 1. กําหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามี ระเบียบวินัยการปฏิบัติตามกฎติกา ที่กําหนดหรือได้ตกลงกันไว้ 2. มีการปลูกฝังความรับผิดชอบ ให้นักศึกษา โดยเริ่มตั้งแต่การเข้า ชั้นเรียนให้ตรงเวลาการ ส่งงาน ตามกําหนดเวลาตลอดจนการแต่ง กายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับ ของมหาวิทยาลัยฯ 3. ฝึกนักศึกษาให้มีภาวะความ เป็นผู้นําการทํางานกลุ่มนั้นต้อง ฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นํากลุ่ม และการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความ สื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทําการ ทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้าน ของผู้อื่น 4. สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรม ส่งเสริม คุณธรรมจริยธรรมอาทิการยก ย่องนักศึกษาที่ทําดีทําประโยชน์ แก่ส่วนรวมและเสียสละ 5.สอดแทรกมีจรรยาบรรณทาง 1. ประเมินจาการตรงต่อเวลา ของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน กางส่งงานตามกําหนดระยะเวลา ที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 2. ประเมินจากการมีวินัยและ พร้อมเพรียงของนักศึกษาในการ เข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3. ประเมินการกระทําทุจริตใน การสอบ 4. ประเมินจากความรับผิดชอบ ในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 5. สังเกตพฤติกรรมการ แสดงออกในโอกาสต่างๆ

(4)

สังคมของวิชาชีพไฟฟ้าตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน วิชาการและวิชาชีพและมีความ รับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบ วิชาชีพไฟฟ้า 2. ความรู้ มาตรฐานผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน การประเมินผลการเรียนรู้ 2. ความรู้ 2.1 [z] มีความรู้และความ เข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐานวิศวกรรม พื้นฐานและเศรษฐศาสตร์เพื่อ การประยุกต์ใช้กับงานทางด้านการ เขียนแบบวิศวกรรม 2.2 [z] มีความรู้และความ เข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎี ที่สําคัญในเนื้อหาของสาขาวิชา เฉพาะด้านการเขียนแบบ วิศวกรรม 2.3 [z] สามารถบูรณาการ ความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับ ความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2.4 [z] สามารถวิเคราะห์และ แก้ไขปัญหาด้วยวิธีการที่ เหมาะสมรวมถึงการประยุกต์ใช้ เครื่องมือที่เหมาะสมเช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียน แบบเป็นต้น 2.5 [z] สามารถใช้ความรู้และ ทักษะในสาขาวิชาของตน ในการ ประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ 1. ใช้การสอนหลานรูปแบบโดย เน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ 2. จัดกิจกรรม การเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 3. ฝึกปฏิบัติการเขียนแบบไฟฟ้า โดยใช้มือและการใช้โปรแกรมจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ 4. การสร้างสถานการณ์เพื่อที่ให้ นักศึกษาแก้ปัญหา 5. การสรุปเนื้อหาสาระสําคัญ ของบทเรียน 1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและ ปลายภาคเรียน 3. ประเมินจากรายงานและงาน ที่มอบหมายให้นักศึกษาจัดทํา 4. ประเมินจากการนําเสนอ รายงานในชั้นเรียน 5. ประเมินจากการปฏิบัติการ เขียนแบบของนักศึกษา

(5)

3. ทักษะทางปัญญา มาตรฐานผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน การประเมินผลการเรียนรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 [z] มีความคิดอย่างมี วิจารณญาณอย่างเป็นระบบ 3.2 [z] สามารถรวบรวมศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการ 3.3 [z] สามารถคิดวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านการเขียน วิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึง การใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ ในการทํางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 3.4 [z] มีจินตนาการและ ความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม ในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อ ยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่าง สร้างสรรค์ 3.5 [z] สามารถสืบค้นข้อมูล และค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมได้ ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอด ชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลง ทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ 1. การแนะนําและฝึก กระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ การมอบหมายงานการแก้ปัญหา จากโจทย์ปัญหา 2. กรณีศึกษาการประยุกต์การ เขียนแบบ 2. มอบหมายงาน 3. การศึกษาค้นคว้าและรายงาน ทางเอกสารและรายงานหน้าชั้น เรียน 1. ประเมินตามสภาพจริงจาก ผลงาน 2. การปฏิบัติของนักศึกษาอาทิ ประเมินการนําเสนอในชั้นเรียน การปฏิบัติเขียนแบบ 3. ทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือ สัมภาษณ์

(6)

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ มาตรฐานผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน การประเมินผลการเรียนรู้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 [c] สามารถสื่อสารกับ กลุ่มคนที่หลากหลายและสามารถ สนทนาทั้งภาษาไทยและภาษา ต่างประเทศได้อย่างมี ประสิทธิภาพสามารถใช้ความรู้ใน สาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ ในประเด็นที่เหมาะสม 4.2 [c] สามารถเป็นผู้ริเริ่ม แสดงประเด็นในการแก้ไข สถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้ง ส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้ง แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของ ตนเองและของกลุ่มรวมทั้งให้ ความช่วยเหลือและอํานวยความ สะดวก ในการแก้ไขปัญหา สถานการณ์ต่างๆ 4.3 [c] สามารถวางแผนและ รับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ ทั้งของตนเอง สังคมและทาง วิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.4 [c] รู้จักบทบาทหน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการ ทํางานตามที่มอบหมายทั้งงาน บุคคลและงานกลุ่มสามารถ ปรับตัวและทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้ง ในฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้ อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ 4.5 [c] มีจิตสํานึกความ ใช้การสอนที่มีการกําหนด กิจกรรมให้มีการทํางานเป้นกลุ่ม การทํางานที่ต้องประสานงานกับ ผู้อื่นข้ามหลักสูตรหรือต้องค้นคว้า หาข้อมูลการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์โดยมีความ คาดหวังในผลการเรียนรู้ด้าน ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัว บุคคลและความสามารถในการ รับผิดชอบดังนี้ 1. ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อ หน้าที่ที่ได้รับหมอบหมาย 2. ส่งเสริมให้นักศึกษากล้า แสดงออกและเสนอความคิดเห็น โดยการจัดอภิปรายและเสวนางาน ที่มอบหมาย 3. ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสใน การแสดงความเห็น (Brainstorm-ing) เพื่อฝึกการยอมรับความ คิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล 4. ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 1. ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์ เป็นผู้นําและผู้ตามที่ดี 2. ติดตามการทํางานร่วมกันสามชิ กกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึก พฤติกรรมเป็น รายบุคคล 3. ประเมินจากผลงานการ อภิปรายและเสวนา 4. สังเกตพฤติกรรมการระดม สมอง

(7)

รับผิดชอบด้านความปลอดภัยใน การทํางานและการรักษา สภาพแวดล้อมต่อสังคม 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐานผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน การประเมินผลการเรียนรู้ 5. ทักษะในการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 [z] มีทักษะในการใช้ คอมพิวเตอร์ สําหรับการทํางานที่ เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 5.2 [z] มีทักษะในการ วิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทาง คณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่ เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ 5.3 [z] สามารถประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ 5.4 [z] มีทักษะในการสื่อสาร ข้อมูลทั้งทางการพูดการเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้ สัญลักษณ์ 5.5 [z] สามารถใช้เครื่องมือ การคํานวณและเครื่องมือทาง วิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชีพใน สาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน รายวิชาต่างๆให้นักศึกษาได้ วิเคราะห์สถานการณ์จําลองและ สถานการณ์เสมือนจริงและ นําเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ เทคโนโลยีสารสนเทศใน หลากหลายสถานการณที่สามารถ ประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ 2. ส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียง ข้อมูลและนําเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ถูกต้องและให้ความสําคัญในการ อ้างอิงแหล่งที่มาข้อมูล 1. ประเมินจากเทคนิคการนําเสนอ โดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือ คณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง 2. ประเมินความสามารถในการ อธิบายถึงข้อจํากัดเหตุผลในการ เลือกเครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนําเสนอ ต่อชั้นเรียน 3. สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้าน ความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็น ระยะ

(8)

6. ทักษะพิสัย มาตรฐานผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอน การประเมินผลการเรียนรู้ 6. ทักษะพิสัย 6.1 [z]มีความสามารถในการ ใช้อุปกรณ์เครื่องมือพื้นฐานทาง วิศวกรรมศาสตร์และประยุกต์ ใช้ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 6.2 [z]มีทักษะในการพัฒนา และดัดแปลงใช้อุปกรณ์เครื่องมือ สําหรับการแก้ปัญหาเฉพาะทาง เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในงานที่ ดําเนินการ 6.3 [z] มีทักษะในการร่าง แบบสําหรับงานสาขาวิชาชีพ เฉพาะและสามารถนําไปสู่ ภาคปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1. สาธิตการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ รวมทั้งขั้นตอนการปฏิบัติ 2. มอบหมายงานตามใบฝึกปฏิบัติ 3. เตรียมใบฝึกปฏิบัติที่ต้องใช้ ความรู้ความสามารถเชิงทักษะใน การแก้ปัญหาทางวิศวกรรม 4. ฝึกทําการร่างแบบสั่งงานจริงใน วิชาชีพเฉพาะ 5. ฝึกนักศึกษาให้มีกิจนิสัยที่ดีใน การปฏิบัติงาน 1. ประเมินจากการสังเกต พฤติกรรมระหว่างการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์โดยการบันทึกเป็น ระยะๆ 2. ประเมินผลจากแบบประเมิน ตนเองและกิจกรรมกลุ่ม 3. ประเมินจากผลงานและการ นําเสนอผลงาน

(9)

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล สัปดา ห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จํา นวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียน การสอน สื่อที่ใช้(ถ้ามี) ผู้สอน 1 บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของ การเขียนแบบ 1. ความสําคัญของงาน เขียนแบบ 2. วิวัฒนาการของงาน เขียนแบบ 3. จําแนกลักษณะของ งานเขียนแบบชนิด ต่างๆ 4 1. สร้างความคุ้นเคยกับนักศึกษาโดย การซักถาม ตอบคําถาม 2. วิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนโดยใช้การ ซักถาม หรือตอบคําถาม หรือ แบบทดสอบ 3. การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 4. การบรรยายโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 5. ใช้ PowerPoint ในการนําเสนอการ บรรยายเรื่องความรู้เบื้องต้นของการ เขียนแบบ 6. การทําแบบฝึกหัดท้ายบท 7. นักศึกษาไม่เข้าใจข้อหัวใดให้ซักถาม ข้อสงสัยกับผู้สอน 1. เอกสาร ประกอบการ เรียนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 2. PowerPoint เรื่องความรู้ เบื้องต้นของการ เขียนแบบ 3. ฐานข้อมูลทาง Internet อาจารย์วีระพล พลีสัตย์ 2 บทที่ 2 เครื่องมือและอุปกรณ์ เขียนแบบ 1. ชนิดของเครื่องมือ และอุปกรณ์เขียนแบบ 2. การใช้เครื่องมือและ อุปกรณ์เขียนแบบ 4 1. วิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนตามหัวข้อที่ ต้องการศึกษาโดยใช้การซักถาม หรือ ตอบคําถามหรือแบบทดสอบ 2. การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3. การบรรยายโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 4. ใช้ PowerPoint ในการนําเสนอการ บรรยาย เรื่องเครื่องมือและอุปกรณ์ เขียนแบบ 5. ปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย 6. การทําแบบฝึกหัดท้ายบท 7. นักศึกษาไม่เข้าใจข้อหัวใดให้ถาม 1. เอกสาร ประกอบการ เรียนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 2. PowerPoint เรื่องเครื่องมือ และอุปกรณ์เขียน แบบ 3. แสดงตัวอย่าง เครื่องมือและ อุปกรณ์เขียน แบบ 4. ฐานข้อมูลทาง อาจารย์วีระพล พลีสัตย์

(10)

อาจารย์ผู้สอน Internet 3 บทที่ 3 มาตรฐานงานเขียน แบบ 1. เส้น 2. มาตราส่วน 3. ตัวอักษร 4 1. วิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนตามหัวข้อที่ ต้องการศึกษาโดยใช้การซักถาม หรือ ตอบคําถามหรือแบบทดสอบ 2. การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3. การบรรยายโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 4. ใช้ PowerPoint ในการนําเสนอการ บรรยายเรื่องมาตรฐานงานเขียนแบบ 5. การทําแบบฝึกหัดท้ายบท 6. นักศึกษาไม่เข้าใจข้อหัวใดให้ถาม อาจารย์ผู้สอน 7. ปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย 1. เอกสาร ประกอบการ เรียนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 2. PowerPoint เรื่องมาตรฐาน งานเขียนแบบ 3. ฐานข้อมูลทาง Internet อาจารย์วีระพล พลีสัตย์ 4-5 บทที่ 4 ภาพทรงเรขาคณิต 1. ภาพทรงเรขาคณิต 2. การสร้างภาพทรง เรขาคณิต 8 1. วิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนตามหัวข้อที่ ต้องการศึกษาโดยใช้การซักถาม หรือ ตอบคําถามหรือแบบทดสอบ 2. การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็น ฐาน 3. การบรรยายโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 4. ใช้ PowerPoint ในการนําเสนอการ บรรยายเรื่องภาพทรงเรขาคณิต 5. ปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย 6. การทําแบบฝึกหัดท้ายบท 7. นักศึกษาไม่เข้าใจข้อหัวใดให้ถาม อาจารย์ผู้สอน 1. เอกสาร ประกอบการ เรียนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 2. PowerPoint เรื่องภาพทรง เรขาคณิต 3. ฐานข้อมูลทาง Internet อาจารย์วีระพล พลีสัตย์

(11)

6 บทที่ 5 การกําหนดขนาด 1. การกําหนดขนาด ความยาว 2. การกําหนดขนาด มุม 3. การกําหนดขนาด รัศมีวงกลม และส่วน โค้ง 4 1. วิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนตามหัวข้อที่ ต้องการศึกษาโดยใช้การซักถาม หรือ ตอบคําถามหรือแบบทดสอบ 2. การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3. การบรรยายโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 4. ใช้ PowerPoint ในการนําเสนอการ บรรยายเรื่องการกําหนดขนาด 5. การทําแบบฝึกหัดท้ายบท 6. นักศึกษาไม่เข้าใจข้อหัวใดให้ถาม อาจารย์ผู้สอน 1. เอกสาร ประกอบการ เรียนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 2. PowerPoint เรื่องการกําหนด ขนาด 3. ฐานข้อมูลทาง Internet อาจารย์วีระพล พลีสัตย์ 7 บทที่ 6 ภาพฉาย 1. ลักษณะการฉาย ภาพ 2. ตําแหน่งการมอง ภาพฉาย 3. ภาพฉายมุมที่ 1 4. ภาพฉายมุมที่ 3 4 1. วิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนตามหัวข้อที่ ต้องการศึกษาโดยใช้การซักถาม หรือ ตอบคําถามหรือแบบทดสอบ 2. การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3. การบรรยายโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 4. ใช้ PowerPoint ในการนําเสนอการ บรรยายเรื่องภาพฉาย 5. ปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย 6. การทําแบบฝึกหัดท้ายบท 7. นักศึกษาไม่เข้าใจข้อหัวใดให้ถาม อาจารย์ผู้สอน 1. เอกสาร ประกอบการ เรียนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 2. PowerPoint เรื่องภาพฉาย 3. ฐานข้อมูลทาง Internet อาจารย์วีระพล พลีสัตย์ 8 สอบกลางภาคเรียน

(12)

9 บทที่ 7 ภาพสามมิติ 1. ความหมายของภาพ สามมิติ 2. ประเภทของภาพ สามมิติ 3. การเขียนภาพสาม มิติ 4. การเขียนวงรีภาพ สามมิติ 4 1. วิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนตามหัวข้อที่ ต้องการศึกษาโดยใช้การซักถาม หรือ ตอบคําถามหรือแบบทดสอบ 2. การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3. การบรรยายโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 4. ใช้ PowerPoint ในการนําเสนอการ บรรยายเรื่องภาพสามมิติ 5. ปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย 6. การทําแบบฝึกหัดท้ายบท 7. นักศึกษาไม่เข้าใจข้อหัวใดให้ถาม อาจารย์ผู้สอน 1. เอกสาร ประกอบการ เรียนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 2. PowerPoint เรื่องภาพสามมิติ 3. ฐานข้อมูลทาง Internet อาจารย์วีระพล พลีสัตย์ 10 บทที่ 8 การเขียนภาพสเกตซ์ 1. ความหมายของการ สเกตซ์ภาพ 2. การลากเส้นสเกตซ์ ภาพ 3. การสเกตซ์ภาพ วงกลมหรือส่วนโค้ง 4. การสเกตซ์ภาพฉาย 5. การสเกตซ์ภาพสาม มิติ 4 1. วิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนตามหัวข้อที่ ต้องการศึกษาโดยใช้การซักถาม หรือ ตอบคําถามหรือแบบทดสอบ 2. การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3. การบรรยายโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 4. ใช้ PowerPoint ในการนําเสนอการ บรรยายเรื่องการเขียนภาพสเกตซ์ 5. ปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย 6. การทําแบบฝึกหัดท้ายบท 7. นักศึกษาไม่เข้าใจข้อหัวใดให้ถาม อาจารย์ผู้สอน 1. เอกสาร ประกอบการ เรียนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 2. PowerPoint เรื่องการเขียน ภาพสเกตซ์ 3. ฐานข้อมูลทาง Internet อาจารย์วีระพล พลีสัตย์ 11 บทที่ 9 การเขียนแบบภาพตัด 1. ความหมายของภาพ ตัด 4 1. วิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนตามหัวข้อที่ ต้องการศึกษาโดยใช้การซักถาม หรือ ตอบคําถามหรือแบบทดสอบ 2. การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3. การบรรยายโดยใช้เอกสาร 1. เอกสาร ประกอบการ เรียนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 2. PowerPoint อาจารย์วีระพล พลีสัตย์

(13)

2. ส่วนประกอบของ ภาพตัด 3. ชนิดของภาพตัด 4. ภาพตัดลักษณะ พิเศษ 5. ชิ้นงานที่ได้รับการ ยกเว้นการตัด ประกอบการเรียนการสอนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 4. ใช้ PowerPoint ในการนําเสนอการ บรรยายเรื่องการเขียนแบบภาพตัด 5. ปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย 6. การทําแบบฝึกหัดท้ายบท 7. นักศึกษาไม่เข้าใจข้อหัวใดให้ถาม อาจารย์ผู้สอน เรื่องการเขียน แบบภาพตัด 3. ฐานข้อมูลทาง Internet 12 บทที่ 10 การเขียนภาพช่วย 1. ความหมายของภาพ ช่วย 2. ประเภทของภาพ ช่วย 4 1. วิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนตามหัวข้อที่ ต้องการศึกษาโดยใช้การซักถาม หรือ ตอบคําถามหรือแบบทดสอบ 2. การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3. การบรรยายโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 4. ใช้ PowerPoint ในการนําเสนอการ บรรยายเรื่องการเขียนภาพช่วย 5. ปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย 6. การทําแบบฝึกหัดท้ายบท 7. นักศึกษาไม่เข้าใจข้อหัวใดให้ถาม อาจารย์ผู้สอน 1. เอกสาร ประกอบการ เรียนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 2. PowerPoint เรื่องการเขียน ภาพช่วย 3. ฐานข้อมูลทาง Internet อาจารย์วีระพล พลีสัตย์ 13 บทที่ 11 สัญลักษณ์เบื้องต้นใน งานช่างอุตสาหกรรม 1. ความหมายของ สัญลักษณ์ 2. สัญลักษณ์งานช่าง อุตสาหกรรม 4 1. วิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนตามหัวข้อที่ ต้องการศึกษาโดยใช้การซักถาม หรือ ตอบคําถามหรือแบบทดสอบ 2. การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3. การบรรยายโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 4. ใช้ PowerPoint ในการนําเสนอการ บรรยายเรื่องสัญลักษณ์เบื้องต้นในงาน 1. เอกสาร ประกอบการ เรียนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 2. PowerPoint เรื่องสัญลักษณ์ เบื้องต้นในงาน ช่างอุตสาหกรรม 3. ฐานข้อมูลทาง อาจารย์วีระพล พลีสัตย์

(14)

5. ปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย 6. การทําแบบฝึกหัดท้ายบท 7. นักศึกษาไม่เข้าใจข้อหัวใดให้ถาม อาจารย์ผู้สอน 14-15 บทที่ 12 การใช้คอมพิวเตอร์ใน การช่วยเขียนแบบ 1. การใช้คําสั่ง Auto CAD 2. การเขียนภาพแบบ ต่างๆ 3. การเขียนแบบ แปลนอาคารอย่างง่าย 4. การเขียนสัญลักษณ์ ลงในแบบแปลน 8 1. วิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนตามหัวข้อที่ ต้องการศึกษาโดยใช้การซักถาม หรือ ตอบคําถามหรือแบบทดสอบ 2. การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน 3. การบรรยายโดยใช้เอกสาร ประกอบการเรียนการสอนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 4. ใช้ PowerPoint ในการนําเสนอการ บรรยายเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์ในการ ช่วยเขียนแบบ 5. ปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย 6. การทําแบบฝึกหัดท้ายบท 7. นักศึกษาไม่เข้าใจข้อหัวใดให้ถาม อาจารย์ผู้สอน 1. เอกสาร ประกอบการ เรียนวิชาเขียน แบบวิศวกรรม 2. PowerPoint เรื่องการใช้ คอมพิวเตอร์ใน การช่วยเขียน แบบ 3. ฐานข้อมูลทาง Internet อาจารย์วีระพล พลีสัตย์ 16 สอบปลายภาคเรียน

(15)

2. การประเมินผล กิจกรรมที่ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ สัดส่วนของ การประเมิน 1.1 1.2 จิตพิสัย - การเข้าเรียนและการตรงต่อเวลา - การแต่งกาย - ความมีมารยาทต่ออาจารย์ผู้สอน - ส่งงานตรงตามระยะเวลาที่กําหนด 1-15 10 % 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 6.1 6.2 6.3 รายงานปฏิบัติ และงานที่ได้รับมอบหมาย 2,3,5,7,8,10, 11,12,13,15 20 % 1.2 2.2 2.4 2.5 3.1 3.3 สอบย่อยประจําบท 2,3,5,7,8,10, 11,12,13,15 20 % 1.2 2.2 2.4 2.5 3.1 3.3 สอบกลางภาค 8 20 % 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 3.1 3.3 สอบปลายภาค 16 30 % รวม 100 % หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. เอกสารและตําราหลัก 1. นภัทร : เขียนแบบไฟฟ้า 1 2. สุเมธาพุ่มระย้า : เขียนแบบไฟฟ้า 3. เลอศักดิ์สันติประเสริฐ, เสถียร บุญเพ็ง : เขียนแบบไฟฟ้า 4. เลื่อมขาวสะอาด : เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น 5. โกวิท ยอดมงคล : การเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์ 6. สุภาพ ยอกละมูล : การเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ Auto CAD

(16)

7. คณิส สุจินัย : เทคนิคการใช้คอมฯในการเขียนแบบวิศวกร 8. ผศ.ชาลี ตระการกูล : เทคโนโลยี CNC 9. อภิรัตน์ บางศิริ : เขียนแบบทางวิศวกรรมและสถาปัตยกรรมด้วย Auto CAD 2007 10. ธีรวัฒน์ จิตต์เนื่อง : เรียนรู้การใช้งานโปรแกรมเขียนแบบ Auto CAD 2007 11. ดร.ศิริชัย ต่อสกุล : การเขียนแบบวิศวกรรมพื้นฐาน 12. ผศ.ดร. จตุรงค์ ลังกาพินธุ์ : Solid Works ออกแบบและเขียนแบบวิศวกรรม 13. ชัชวาล ศุภเกษม : เขียนแบบงานวิศวกรรมและสถาปัตย์ด้วย AutoCAD 2013 14. นริศ ศรีเมฆ : เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น 2. เอกสารและข้อมูลสําคัญ เอกสารประกอบการสอนวิชาเขียนแบบวิศวกรรม

(17)

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชรได้ให้นักศึกษาเข้า ประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชรโดยการนําแนวคิดและความ คิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้ - ผลการสอบ - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 3. การปรับปรุงการสอน หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการ ระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน 4. การทบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา มีการตั้งคณะกรรมการในโปรแกรมวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบรายงานวิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม 5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนการปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4

References

Related documents

The proposed framework will highlight the relevance of course design, lesson development, and assessment as it directly relates to increasing students’ confidence level so that IT

All the worksheets used during lectures and tutorial activities have been published on the Moodle page of the course through MapleNet, a facility which allows the publication

[r]

School nurses make a difference in the lives of their students and communities by providing quality care in the school setting, linking families with community resources,

Since the question asks for the value of a single quantity and the answer choices involve only numbers, we can use the Start In The Middle techniqueA. Since the question asks for

Each academic unit is required to have an assessment plan on file with the Office of Assessment and Accreditation that describes expected student learning outcomes for each

This exam will cover all course materials, i.e., readings, lecture notes, class examples, and lab material. The format of this exam may consist of short answer and essay questions

This Policy does not provide indemnity in respect of claims directly or indirectly arising from Personal Injury or Property Damage in connection with the following