• No results found

แผนการจ ดการเร ยนร หน วยท 3

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "แผนการจ ดการเร ยนร หน วยท 3"

Copied!
17
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)
(2)

แผนการจัดการเรียนรูที่

3

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 สาระที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ มาตรฐานง 4.1 หนวยการเรียนรูที่ 3 เวลาเรียน 8 คาบ เรื่อง สนุกกับคอมพิวเตอร มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐานง 4.1 เขาใจเห็นคุณคาและใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใน การสืบคนขอมูลการเรียนรูการสื่อสารการแกปญหาการทํางานและอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น ขอที่ 2. เขาใจองคประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอร ขอที่ 4. เขาใจขอกําหนดของคอมพิวเตอรและอุปกรณที่เกี่ยวของ ขอที่ 8. ใชฮารดแวรและซอฟตแวรใหเหมาะสมกับงาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. บอกวิวัฒนาการ องคประกอบพื้นฐาน หลักการทํางาน และจําแนกชนิดของคอมพิวเตอรได 2. อธิบายความหมายของฮารดแวรหนาที่และขอกําหนดของอุปกรณที่เกี่ยวของได 3. อธิบายความหมายของซอฟตแวรและจําแนกประเภทของซอฟตแวรได สาระสําคัญ คอมพิวเตอร คือ เครื่องคํานวณอิเล็กทรอนิกสมีการทํางานแบบอัตโนมัติ ทําหนาที่เหมือน สมองกล สามารถแกปญหาตางๆ ทั้งที่งายและซับซอนตามคําสั่งของโปรแกรม ขั้นตอนการทํางานจะ ประกอบดวย การรับโปรแกรมและขอมูลในรูปแบบที่เครื่องสามารถรับไดแลวทําการคํานวณ เคลื่อนยาย ขอมูลเปรียบเทียบจนกระทั่งไดผลลัพธตามที่ตองการ วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร เริ่มตนจากวิวัฒนาการของเครื่องคํานวณเนื่องจากถือไดวา “คอมพิวเตอร” เปนเครื่องคํานวณรูปแบบหนึ่งวิวัฒนาการของคอมพิวเตอรสามารถแบงออกเปนยุคตางๆ ตามลักษณะโครงสรางและเทคโนโลยี ไดแก หลอดสุญญากาศ ยุคทรานซิสเตอร ยุควงจรรวม และยุค เครือขาย

(3)

เครื่องคอมพิวเตอรไมวาจะเปนเครื่องคอมพิวเตอรขนาดเล็กไปถึงคอมพิวเตอรขนาดใหญที่มีการ ทํางานซับซอนเพียงใดก็ตามเมื่อเราพิจารณาแลวจะเห็นไดวามีองคประกอบเหมือนกันคือสวนนําเขา

(Input) สวนประมวลผล (Process) สวนแสดงผล (Output) และสวนเก็บขอมูล (Storage) ซึ่งประกอบดวย หนวยความจําหลักและหนวยความจําสํารอง ฮารดแวร หมายถึง อุปกรณตางๆที่ประกอบขึ้นเปนเครื่องคอมพิวเตอรมีลักษณะเปนโครงราง สามารถมองเห็นดวยตาและสัมผัสได (รูปธรรม) เชนจอภาพคียบอรดเครื่องพิมพเมาสเปนตน ซอฟตแวร หมายถึง ชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ใชสั่งงานใหคอมพิวเตอรทํางาน จุดประสงคการเรียนรู ดานความรู 1. รูเขาใจและอธิบายองคประกอบพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอรได 2. รูเขาใจและบอกหลักการทํางานของคอมพิวเตอรได 3. รูเขาใจและบอกวิวัฒนาการของคอมพิวเตอรตั้งแตอดีตถึงปจจุบันได 4. รูเขาใจและจําแนกชนิดของคอมพิวเตอรได 5. รูเขาใจและบอกความหมายของฮารดแวรและหนาที่ของอุปกรณที่เกี่ยวของได 6. รูเขาใจและบอกความหมายของซอฟตแวรและจําแนกประเภทของซอฟตแวรได ดานทักษะกระบวนการ 1. เลือกใชฮารดแวรไดอยางถูกตองเหมาะสม 2. ดูแลรักษาอุปกรณคอมพิวเตอรเบื้องตนได 3. เลือกใชซอฟตแวรไดเหมาะสมกับลักษณะงาน 4. ใชโปรแกรม Microsoft Word สรางแผนพับได 5. ใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint นําเสนองานได 6. ใชโปรแกรม Microsoft Excel เบื้องตนได ดานคุณลักษณะ 1. มีเจตคติที่ดีตอการเรียนวิชาง 40105 - มีความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย - มีความตรงตอเวลา - มีความซื่อสัตย - มีความตั้งใจ - มีคุณธรรมในการใชงานอินเตอรเน็ต คือเขาเว็บไซตที่เหมาะสม

(4)

สาระการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 3 : สนุกกับคอมพิวเตอร - ระบบคอมพิวเตอร - จากอดีต..สูปจจุบัน - วิวัฒนาการคอมพิวเตอร - ชนิดและประโยชนของคอมพิวเตอร - องคประกอบพื้นฐานของคอมพิวเตอร - ฮารดแวรและซอฟตแวร สื่อการเรียนรู/แหลงการเรียนรู 1. สื่อออนไลน 2. สื่อชวยสอน 3. อินเทอรเน็ต 4. Power Point แนะนําซอฟตแวรที่นาสนใจ 5. ตัวอยางชิ้นงานที่สรางจาก Software ตางๆ กิจกรรม/กระบวนการเรียนรู คาบที่ (1-2) เรื่องระบบคอมพิวเตอร ครูเกริ่นนําวาคอมพิวเตอรเขามามีบทบาท ที่สําคัญยิ่งตอสังคมของมนุษยเราในปจจุบัน แทบทุก วงการลวนนําคอมพิวเตอรเขาไปเกี่ยวของกับการใชงาน จนกลาวไดวาคอมพิวเตอรเปนปจจัยที่สําคัญอยาง ยิ่งตอการดําเนินชีวิตและการทํางานในชีวิตประจําวัน ฉะนั้นการเรียนรูเพื่อทําความรูจักกับคอมพิวเตอรจึง ถือเปนสิ่งที่มีความจําเปนเปนอยางยิ่ง 1. ครูใหนักเรียนกลุมที่รับผิดชอบเรื่องระบบคอมพิวเตอรออกมานําเสนอผลการคนควาขอมูล - ความหมายของคอมพิวเตอร - กระบวนการทํางานของระบบคอมพิวเตอร - ประเภทของคอมพิวเตอร - ลักษณะเดนของคอมพิวเตอร - ประโยชนของคอมพิวเตอร 2. ใหเพื่อนสมาชิกกลุมอื่นๆตั้งคําถาม และใหกลุมที่นําเสนอตอบคําถามใหเพื่อนๆฟง ถาไม ชัดเจนครูคอยชวยเสริมเพิ่มเติม

(5)

3. ครูชวยอธิบายเสริมหรืออธิบายเพิ่มเติมสําหรับเนื้อหาที่ขาดหายไปเพื่อใหนักเรียนเขาใจมาก ขึ้น 4. ใหนักเรียนทุกคนเปดเขาไปดูเนื้อหาสื่อชวยสอน เรื่อง “ระบบคอมพิวเตอร” แลวครูและ นักเรียนชวยกันสรุปเนื้อหาที่ไดในวันนี้ 5. ครูแจงใหนักเรียนทราบถึงเนื้อหาที่จะเรียนในหัวขอตอไป และใหนักเรียนไปศึกษาคนความา ลวงหนา โดยการแนะนําเว็บไซตที่เกี่ยวของใหนักเรียนทราบ คาบที่ (3-4) เรื่องวิวัฒนาการคอมพิวเตอร ครูพูดคุยกับนักเรียนเรื่อง คอมพิวเตอรหรือวา “สมองกล” แลวใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นวา จุดเริ่มตนของคอมพิวเตอรคืออะไร (เครื่องคํานวณ) 1. ครูใหกลุมที่รับผิดชอบเรื่องวิวัฒนาการคอมพิวเตอรออกมานําเสนอเนื้อหาใหเพื่อนฟง 2. สมาชิกกลุมอื่นๆรวมกันตั้งคําถาม ใหกลุมที่นําเสนอตอบ 3. ครูชวยเสริมเพิ่มเติมในเนื้อหาที่ขาดหายไป 4. ครูใหนักเรียนทุกคนอานประวัติความเปนมาของการใชคอมพิวเตอรในประเทศไทย และ วิวัฒนาการคอมพิวเตอรจากสื่อชวยสอน ที่ครูเตรียมไวให 5. สุมถามนักเรียน โดยใหนักเรียนตอบลักษณะของคอมพิวเตอรในแตละยุค 6. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเนื้อหา 7. ครูแจงเนื้อหาคาบตอไปวาเรียนเรื่องใด โดยใหนักเรียนเตรียมตัวคนความาลวงหนา คาบที่ (5-6) เรื่ององคประกอบพื้นฐานของคอมพิวเตอร ครูใหนักเรียนสํารวจคอมพิวเตอรที่ตนเองนั่งประจํา วาประกอบดวยอะไรบาง จากนั้นครูก็บอกวา ทุกสิ่งที่นักเรียนกลาวมานั้นเปนองคประกอบของคอมพิวเตอรทั้งสิ้น แตเราจะตองมาแยก จําแนก อุปกรณ แตละอยางวามันมีหนาที่อะไร เพื่อจัดกลุมใหกับอุปกรณแตละอยางกัน 1. ครูใชวิธีใหนักเรียนบอกอุปกรณคอมพิวเตอรมาคนละ 1 อยาง 2. ครูเขียนคําตอบของนักเรียนบนกระดาน 3. ครูจับกลุมอุปกรณแตละอยาง แลวถามนักเรียนวา นักเรียนรูหรือไมวาครูใชเกณฑอะไรใน การจัดแบงกลุมใหกับอุปกรณพวกนั้น (ถานักเรียนตอบไมไดครูพยายามใบคําตอบใหนักเรียนทีละนิด) 4. ใหตัวแทนกลุมที่รับผิดชอบเรื่ององคประกอบพื้นฐานของคอมพิวเตอรออกมานําเสนอหนา ชั้นเรียนใหเพื่อน ๆและครูฟง พรอมกับตอบคําถามที่เพื่อนๆถาม 5. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความหมายของคําตางๆ ดังนี้ ƒ หนวยรับขอมูล

(6)

ƒ หนวยประมวลผลขอมูล ƒ หนวยแสดงผลขอมูล ƒ หนวยความจําหลัก ƒ หนวยความจําสํารอง ƒ จากนั้นเพื่อเปนการทดสอบความเขาใจของนักเรียน ใหครูบอกชื่ออุปกรณคอมพิวเตอร แลวเรียกชื่อนักเรียน เพื่อถามวาอุปกรณนั้นๆ จัดอยูในองคประกอบสวนใดของ คอมพิวเตอร ƒ ใหนักเรียนเขียนสรุปความรูที่ไดในวันนี้วาไดรูอะไร อยางไร ƒ ครูแจงเนื้อหาคาบตอไปวาเรียนเรื่องใด โดยใหนักเรียนเตรียมตัวคนความาลวงหนา คาบที่ (7-8) เรื่องฮารดแวรและซอฟตแวร ครูตั้งคําถาม “นักเรียนเคยไดยินคําวาฮารดแวร และซอฟตแวร ?” นักเรียนคิดวามันแตกตางกัน อยางไร

ครูบอกวา หนาจอ คียบอรด เมาสเปนฮารดแวร สวน word , excel , power point เปนซอฟตแวร

นักเรียนแยกออกหรือไมวา ฮารดแวรและซอฟตแวรตางกันอยางไร

1. กลุมที่รับผิดชอบเรื่องฮารดแวรและซอฟตแวรนําเสนอเนื้อหาใหเพื่อนๆฟง จากนั้นตองตอบ คําถามที่เพื่อนๆถามใหได โดยครูจะคอยเสริมในบางสวนที่ขาดหายไป

2. ครูสอนการใชงานโปรแกรมพื้นฐาน Microsoft Word , Excel , Power Point

3. ใหแตละกลุมจับฉลากเพื่อศึกษาอุปกรณฮารดแวร โดยคนหาขอมูลจากเครือขายอินเตอรเน็ต 4. ใหแตละกลุมทําแผนพับเรื่องอุปกรณฮารดแวรที่ตนเองไดรับ ซึ่งในแผนพับนักเรียนจะตอง ออกแบบเนื้อหาซึ่งประกอบดวย รูปภาพ กลองขอความ อักษรศิลป โดยใชโปรแกรมประมวลผลคํา Microsoft word 5. ใหนักเรียนจัดทําโปรแกรมนําเสนอ เรื่องที่จับฉลากได โดยใชโปรแกรมนําเสนอ Microsoft Power Point โดยจะตองนําเทคนิควิธีที่สอนไปใชในการนําเสนอ 6. ใหนักเรียนแตละคนประเมินเพื่อนในกลุมอื่น โดยเขาไปกรอกคะแนนตามเกณฑที่ครู กําหนดให ลงในแบบฟอรมที่ครูจัดทําไว และรวมคะแนนใหเรียบรอย โดยใชโปรแกรม Microsoft Excel 7. ใหนักเรียนจับกลุมเพื่อศึกษาซอฟตแวรประยุกตอื่นๆที่นักเรียนสนใจเพื่อสรางชิ้นงาน หรือ โครงงาน โดยครูจะเปนผูใหคําแนะนํา และบอกวิธีการใชงานซอฟตแวรดังกลาวอยางคราวๆและให ผูเรียนศึกษาและทดลองใชดวยตัวเอง 8. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความหมายของฮารดแวรและซอฟตแวร

(7)

9. ครูแนะนําซอฟตแวรตางๆที่นาสนใจเพิ่มเติมใหกับนักเรียน พรอมตัวอยางชิ้นงานที่ไดจาก การใชซอฟตแวรนั้นๆ 10. ครูแนะนําฮารดแวรใหมๆใหนักเรียนรูจัก การวัดผลและการประเมินผล วิธีการวัด/สิ่งที่วัด/เครื่องมือวัด 1. ประเมินความรู 1.1 จากการสังเกตและซักถามนักเรียน 1.2 เขียนสรุปความรูที่ไดจากการเรียน 1.3 การตอบคําถาม 2. ประเมินผลการปฏิบัติงาน 2.1 ทํางานตามที่ไดรับมอบหมาย 2.2 สรางแผนพับ ไฟลนําเสนอ และการใชงาน MS Excel 3. เครื่องมือในการประเมิน 3.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานของกลุม (คาบที่ 1-8) 3.2 แบบบันทึกสังเกตพฤติกรรมการทํางานของนักเรียน (คาบที่ 1-8) เกณฑการวัดและประเมินผล การประเมินผลประเมินโดยถือเกณฑผานสําหรับผูที่ไดคะแนนจากการวัดผลงานที่ปรากฏ รอยละ 60 ขึ้นไป

(8)

แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานของกลุม

ผลงานของกลุมที่………ชื่อกลุม………ชั้น………. คําชี้แจง การประเมินการทํางานของกลุมโดยจัดระดับคุณภาพเปน 3 ระดับโดยทําเครื่องหมาย / ลงในชอง ที่ตรงกับความเปนจริงดังตอไปนี้ การ วางแผน ในการ ทํางาน การแบง งานกัน รับผิดชอบ การรับฟง ความ คิดเห็นของ สมาชิก การ นําเสนอ ผลงาน ความคิด ริเริ่ม สรางสรรค รวม คะแนน พฤติกรรม กลุม 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 15 1 2 3 4 5 6 7 8 เกณฑการประเมิน ใหคะแนน 1 ถาการทํางานนั้นอยูในระดับตองปรับปรุง ใหคะแนน 2 ถาการทํางานนั้นอยูในระดับพอใช (ตองพัฒนา) ใหคะแนน 3 ถาการทํางานนั้นอยูในระดับดี (ใหรักษาระดับไว) ขอสังเกตอื่นๆ ……… ……… ……… (ลงชื่อ)……….……….(ผูประเมิน)

(9)

แบบบันทึกสังเกตพฤติกรรมการทํางานของนักเรียน

คําชี้แจง 1.สังเกตพฤติกรรมการทํางานของนักเรียนแลวใหคะแนนลงในชองคะแนน 2. ระดับคะแนนมี 5 โดยทําเครื่องหมาย9ลงในชองที่เห็นวามีคุณภาพอยูในระดับนั้นๆ 5 หมายถึง มีความสามารถในการปฏิบัติงานในระดับมากที่สุด 4 หมายถึง มีความสามารถในการปฏิบัติงานในระดับมาก 3 หมายถึง มีความสามารถในการปฏิบัติงานในระดับปานกลาง 2 หมายถึง มีความสามารถในการปฏิบัติงานในระดับนอย 1 หมายถึง มีความสามารถในการปฏิบัติงานในระดับนอยที่สุด ระดับคะแนน ประเด็นรายการ 5 4 3 2 1

กระบวนการกลุม

1. การยอมรับฟงความคิดเห็นของเพื่อนในกลุม 2. การเสนอความคิดเห็นในกลุม 3. การชวยเหลือกันขณะทํางานกลุม 4. การยอมรับความสามารถของสมาชิกในกลุม 5. ทําตามขั้นตอนที่กลุมกําหนด

ความสนใจและเห็นความสําคัญของเรื่องที่เรียน

6. ความสนใจในการทํากิจกรรม 7. การใชเหตุผลในการสนทนาในกลุม 8.ความสนใจในเนื้อหาที่ศึกษา

การนําเสนอขอมูล

9. วิธีการนําเสนอขอมูล 10. การถายทอดความรู 11. การสรุปประเด็นในการนําเสนอ

ตรวจผลการทดลอง

12. การปฏิบัติงานเปนไปตามขั้นตอน 13. ผลการปฏิบัติเปนไปตามวัตถุประสงค กลุมที่...ชื่อกลุม...ชั้นม.4/...

(10)

บันทึกผลการจัดการเรียนรูครั้งที่ 1 (คาบที่ 1-2) 1. ผลที่เกิดกับผูเรียน ……… ……… ……… 2. ปญหา / อุปสรรค/สิ่งที่ตองการพัฒนา ……… ……… ……….……… ……… 3. แนวทาง/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/เทคนิคที่ใชพัฒนาหรือแกไขปญหา ……… ……… ……… 4. แนวทางการปรับปรุงการเรียนการสอนครั้งตอไป ……… ……… ……… (ลงชื่อ) ……… (ลงชื่อ) ……… (นางสาวพฤศจิ อุนอก) (นางพรเพ็ญ ขวัญพัทลุง) ครูฝกสอน ครูพี่เลี้ยง แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่...เวลา...ชั่วโมง/คาบ ภาคเรียนที่ ...ปการศึกษา... เรื่อง... วัน/เดือน/ป (ที่สอน)...เวลา...(คาบ...) รหัสวิชา...ชื่อวิชา...ชั้น... ผูสอน...กลุมสาระการเรียนรู...

(11)

บันทึกผลการจัดการเรียนรูครั้งที่ 2 (คาบที่ 3-4) 1. ผลที่เกิดกับผูเรียน ……… ……… ……… 2. ปญหา / อุปสรรค/สิ่งที่ตองการพัฒนา ……… ……… ……….……… ……… 3. แนวทาง/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/เทคนิคที่ใชพัฒนาหรือแกไขปญหา ……… ……… ……… 4. แนวทางการปรับปรุงการเรียนการสอนครั้งตอไป ……… ……… ……… (ลงชื่อ) ……… (ลงชื่อ) ……… (นางสาวพฤศจิ อุนอก) (นางพรเพ็ญ ขวัญพัทลุง) ครูฝกสอน ครูพี่เลี้ยง ……../………/……… ……../………/……… แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่...เวลา...ชั่วโมง/คาบ ภาคเรียนที่ ...ปการศึกษา... เรื่อง... วัน/เดือน/ป (ที่สอน)...เวลา...(คาบ...) รหัสวิชา...ชื่อวิชา...ชั้น... ผูสอน...กลุมสาระการเรียนรู...

(12)

บันทึกผลการจัดการเรียนรูครั้งที่ 3 (คาบที่ 5-6) 1. ผลที่เกิดกับผูเรียน ……… ……… ……… 2. ปญหา / อุปสรรค/สิ่งที่ตองการพัฒนา ……… ……… ……….……… ……… 3. แนวทาง/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/เทคนิคที่ใชพัฒนาหรือแกไขปญหา ……… ……… ……… 4. แนวทางการปรับปรุงการเรียนการสอนครั้งตอไป ……… ……… ……… (ลงชื่อ) ……… (ลงชื่อ) ……… (นางสาวพฤศจิ อุนอก) (นางพรเพ็ญ ขวัญพัทลุง) ครูฝกสอน ครูพี่เลี้ยง แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่...เวลา...ชั่วโมง/คาบ ภาคเรียนที่ ...ปการศึกษา... เรื่อง... วัน/เดือน/ป (ที่สอน)...เวลา...(คาบ...) รหัสวิชา...ชื่อวิชา...ชั้น... ผูสอน...กลุมสาระการเรียนรู...

(13)

บันทึกผลการจัดการเรียนรูครั้งที่ 4 (คาบที่ 7-8) 1. ผลที่เกิดกับผูเรียน ……… ……… ……… 2. ปญหา / อุปสรรค/สิ่งที่ตองการพัฒนา ……… ……… ……….……… ……… 3. แนวทาง/วิธีการสอน/รูปแบบการสอน/เทคนิคที่ใชพัฒนาหรือแกไขปญหา ……… ……… ……… 4. แนวทางการปรับปรุงการเรียนการสอนครั้งตอไป ……… ……… ……… (ลงชื่อ) ……… (ลงชื่อ) ……… (นางสาวพฤศจิ อุนอก) (นางพรเพ็ญ ขวัญพัทลุง) ครูฝกสอน ครูพี่เลี้ยง ……../………/……… ……../………/……… แผนการจัดการเรียนรู หนวยที่...เวลา...ชั่วโมง/คาบ ภาคเรียนที่ ...ปการศึกษา... เรื่อง... วัน/เดือน/ป (ที่สอน)...เวลา...(คาบ...) รหัสวิชา...ชื่อวิชา...ชั้น... ผูสอน...กลุมสาระการเรียนรู...

(14)
(15)
(16)
(17)

References

Related documents

The right hand graph shows the mean translation error E t and mean rotation error E θ across all N registered images for the lowest

27 Though there were lot of work on structure, microstructure and Li + conducting properties of various lithium containing garnets a systematic experimental studies to

Small Group and School Age Child Care – Any program that receives on a regular basis ten or fewer children who are unrelated to their caregivers and are younger than fourteen

Wang; Global stability of curved fronts in the Belousov- Zhabotinskii reaction-diffusion systems in R 2.. Real

The privacy goal is to limit the ability of data mining tools to derive inferences about sensitive attributes Π 1 ,.. The privacy goal can be achieved by suppressing some values

(e) Calculate the average time needed in msec to search for an arbitrary record in the file, using linear search, if the file blocks are stored on consecutive disk blocks and

In Sections 60.3 and 60.4, we discuss data structures that are used to represent both data in memory as well as on disk such as fixed and variable-length records, large binary

Basic Concepts, Scheduling Criteria practise& Presentation 2.5 2 Scheduling Algorithms: First– Come, First-Served Scheduling, Shortest- Job-First Scheduling,