• No results found

งานว จ ยในช นเร ยน เร อง การพ ฒนาการท างานประด ษฐ ของน กเร ยนช น ม ธยมศ กษาป ท 2 ผ ว จ ย คร ย พ น ศ กด ส ทธ ระด บม ธยมศ กษาป ท 2

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "งานว จ ยในช นเร ยน เร อง การพ ฒนาการท างานประด ษฐ ของน กเร ยนช น ม ธยมศ กษาป ท 2 ผ ว จ ย คร ย พ น ศ กด ส ทธ ระด บม ธยมศ กษาป ท 2"

Copied!
13
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

งานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง

การพัฒนาการทํางานประดิษฐของนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปที่

2

ผูวิจัย

ครูยุพิน

ศักดิ์สิทธิ์

ระดับมัธยมศึกษาปที่

2

ภาคเรียนที่

2

ปการศึกษา

2547

(2)

งานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง

การพัฒนาการทํางานประดิษฐของนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปที่

2

ผูวิจัย

ครูยุพิน

ศักดิ์สิทธิ์

ระดับมัธยมศึกษาปที่

2

ภาคเรียนที่

2

ปการศึกษา

2547

(3)

งานวิจัยในชั้นเรียน

เรื่อง

การพัฒนาการทํางานประดิษฐของนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปที่

2

ผูวิจัย

ครูยุพิน

ศักดิ์สิทธิ์

กลุมสาระการเรียนรู

การงานอาชีพและเทคโนโลยี

ชั้นมัธยมศึกษาปที่

2

ภาคเรียนที่

2

ปการศึกษา

2547

โดยไดรับความเห็นชอบจาก

………

ประธาน

(

ภราดาจักรกรี

อินธิเสน

)

………...

ที่ปรึกษา

(

ครูเรณู

อภินันธวัชพงศ

)

(4)

ประกาศคุณูปการ

งานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยดี ดวยความสามัคคีของผูวิจัย ที่ไดคนควาและหา ขอมูลตางๆและกลุมวิจัยไดใหคําแนะนําและตรวจเนื้อหาใหสมบูรณ ผูวิจัยรูสึกซาบซึ้งในความกรุณาและ ขอขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ ที่นี้ ขอขอบพระคุณทานประธานงานวิจัย ภราดาจักรกรี อินธิเสน รองผูอํานวยการ โรงเรียนอัสสัมชัญระยอง ไดใหโอกาสและสนับสนุนใหงานวิจัยในชั้นเรียนไดสําเร็จลุลวงไดดวยดีและขอ ขอบคุณอีกหลายทานที่มีสวนรวมในการทําวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ที่มิไดกลาวนามในที่นี้แตมีสวนชวยใน การวิจัยฉบับนี้สมบูรณดวยดี

ครูยุพิน

ศักดิ์สิทธิ์

ผูวิจัย

(5)

ชื่องานวิจัย การพัฒนาการทํางานประดิษฐของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ชื่อผูวิจัย ครูยุพิน ศักดืสิทธิ์

บทคัดยอ

งานวิจัยในครั้งนี้มีจุดมุงหมายสรางทัศนคติที่ดีตอการเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยี เกี่ยวกับงานประดิษฐ เพื่อใหนักเรียนมีเจตคติที่ดีในการเรียนการสอนกับวิชาการงานอาชีพและ เทคโนโลยี งานนประดิษฐตามแผนการจัดประสบการณโดยผานกระบวนการฝกปฏิบัติจากสาระ การเรียนรูโดยเนนผูเรียนเปนสําคัญจากแผนการจัดประสบการณหลักสูตรสถานศึกษา / หลักสูตร การจัดการศึกษาของโรงเรียนอัสสัมชัญระยอง
(6)

ชื่องานวิจัย การพัฒนาการทํางานประดิษฐของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ชื่อผูวิจัย ครูยุพิน ศักดิ์สิทธิ์

กลุมสาระการเรียนรู

เคาโครงการทําวิจัยในชั้นเรียน R มี R ไมมี ที่มาความสําคัญของการวิจัย R มี R ไมมี ออกแบบเก็บขอมูล R มี R ไมมี เก็บขอมูลเรียบรอย R มี R ไมมี แปรผลและอธิบายผล R มี R ไมมี สรุปเปนรูปเลม R มี R ไมมี

ครูยุพิน

ศักดิ์สิทธิ์

ผูวิจัย

(

ครูเรณู

อภินันธวัชพงศ

)

อาจารยที่ปรึกษา

(7)

เรื่อง

การพัฒนาการทํางานประดิษฐของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่

2

ความสําคัญ จากการสังเกตของผูวิจัยจะเห็นนักเรียนสวนใหญจะคิดวางานประดิษฐสวนใหญเปนหนาที่ ของผูหญิงเกือบรอยละ 80 และคิดวาการเรียนงานประดิษฐนั้นยากกลัวทําไมได จากปญหาที่พบครูผูสอนจึงไดปรับกิจกรรมการสอนของนักเรียนกลุมนี้โดยเนนการปฏิบัติ แบบฝกอยางงายๆและคอยๆปฏิบัติแบบยากเนนความปลอดภัยของนักเรียนเปนสําคัญถึงขั้น ทดสอบปฏิบัติเพื่อใหเทาเทียมกับเพื่อนนักเรียนรวมกัน จุดมุงหมายของการวิจัย เพื่อลดเจตคติของนักเรียนและเปนการสงเสริมพัฒนาการทางดานรางกายอารมณจิตใจสังคม และสติปญญา นวัตกรรมที่ใช ชื่อนวัตกรรม การปฏิบัติงานแบบโครงงาน เหตุที่เลือกใชนวัตกรรม เพื่อใหนักเรียนไดแสดงความคิดเห็น ความรูสึก และทัศนคติเกี่ยวกับการเรียนงาน ประดิษฐ นักเรียนที่รูจักการแกปญหาดวยตนเองจะไดรับความรูการพัฒนาการปฏิบัติกิจ กรรมตางๆเพิ่มเติมในทักษะตางๆเพิ่มมากขึ้น นักเรียนที่ยังขาดทักษะการปฏิบัติที่ถูกตองในการเรียนงานประดิษฐ และนักเรียน บางคนชวยตนเอง เนื่องจากนักเรียนบางกลุม ยังขาดความรับผิดชอบและการเอาใจใสตอการ ปฏิบัติงาน สวนประกอบของนวัตกรรรม เทคนิควิธีการสอนโดยใหนักเรียนเปนศูนยกลางโดยเนนการฝกปฏิบัติของนักเรียนอธิบาย ขั้นตอนการเรียนการสอนไปอยางชาๆและใหตรงกับความสามารถและความสนใจของนักเรียนโดย มีสวนประกอบของแผนการจัดกิจกรรมดังนี้
(8)

1. จุดประสงค เพื่อสรางความสัมพันธงานผูกับนักเรียนชายและเปนการพัฒนา นักเรียนที่ปฏิบัติไดดี 2. การจัดกิจกรรมดําเนินการตามขั้นตอน ขั้นตอนดังนี้ 2.1ขั้นเตรียม - สํารวจรายชื่อความเรียบรอยและอุปกรณการเรียนการ - สํารวจความสนใจงานที่นักเรียนอยากจะทํา 2.2ขั้นสอนหรือขั้นอธิบายและสาธิต - ครูอธิบายและสาธิตการปฏิบัติกิจกรรมตางๆ - ใหนักเรียนศึกษาใบงานหรือตัวอยางที่นักเรียนแตละกลุมอยากทํา - ครูใหคําอธิบาย หรือสาธิตใหนักเรียนดูวิธีการทํา 2.3ขั้นปฏิบัติ - นักเรียนไดปฏิบัติจริงจากสิ่งที่ครูสอน - นักเรียนที่ปฏิบัติไมไดใหปฏิบัติทบทวนบอยๆจากสิ่งที่ปฏิบัติงายๆไปหายาก - นักเรียนที่ปฏิบัติไดดีแลวครูผูวิจัยจะฝกขั้นสูงตอไปเพื่อเปนการพัฒนาทักษะ ของนักเรียนใหมากขึ้น - นักเรียนสามรถนําไปใชในชีวิตประจําวันและนําไปเปนอาชีพเสริมได 2.4ขั้นนําไปใช - นักเรียนสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได - นําไปใชประกอบอาชีพได 2.5ขั้นสรุปและสุขปฏิบัติ - นักเรียนและครูรวมกันสรุปบทเรียนที่เรียนมาในแตละครั้งหรือจะมีการทบทวน เนื้อหาเดิมในสัปดาหที่ผานมาและจะพูดถึงบทเรียนครั้งตอไป - สุขปฏิบัติตางๆความปลอดภัยการรักษาความสะอาด

(9)

3. สื่อในการจัดกิจกรรม - หนังสือกุลสตรี - หนังสืองานฝมือ - หนังสือประดิดประดอย - อุปกรณในการปฏิบัติงานแตละชิ้น - แบบสาธิตจากครูและเพื่อน 4. การวัดและประเมินผลวิธีการ - แบบสอบถาม - ซักถาม - สนทนา เครื่องมือที่ใช - แบบสังเกตพฤติกรรม - แบบประเมินจากการปฏิบัติจริง ขั้นตอนในการสรางและพัฒนานวัตกรรม 1. วิเคราะหหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน ( ชวงชั้นที่ 3 ) 2. วิเคราหผูเรียนโดยสังเกตพฤติกรรมที่เปนปญหาและประเมินความพรอมของผูเรียนใน ระหวางเดือนธันวาคม 2547 ถึงมกราคม 2548 3. ศึกษาการจัดกิจกรรมการสอนโดยสอนไปชาๆโดยทําทีละขั้นตอน 4. นําแผนการจัดประสบการณไปทดลองสอนเพื่อจัดสื่อประกอบกิจกรรมและนําแผนที่ ทดลองใชมาปรับปรุงใหเหมาะสมกับสภาพของนักเรียนในแตละระดับ เครื่องมือที่ใชในการทําวิจัย - แบบบันทึกผลการสังเกตโดยสรุปพฤติกรรมที่แสดงออกเปนระดับคุณภาพดี มาก ดีปานกลาง พอใชปรับปรุง ขั้นตอนการสรางเครื่องมือ - ศึกษาแบบพฤติกรรมการพัฒนาการของนักเรียน 1. การดําเนินการระหวางการทดสอบปฏิบัติจริง

(10)

- สังเกตและบันทึกการปฏิบัติของนักเรียนในแตละชั่วโมงตามตารางสอนของนัก เรียน - สังเกตและบันทึกผลการพัฒนาการปฏิบัติของนักเรียนในแตละชั่วโมง 2. ผลการวิเคราะหพฤติกรรมกอนสอน - นักเรียนสวนใหญมีพัฒนาการที่ดีควรมีการเสริมบทเรียนและเทคนิคใหมากขึ้น - นักเรียนบางสวนประมาณ 10 % ที่ตองมีการพัฒนาและทบทวนอยูสม่ําเสมอ 3. ผลการวิเคราหพฤติกรรมหลังสอน - นักเรียนที่ปฏิบัติไดดีมีพัฒนาการมากขึ้น ตารางแสดงผลการสังเกตพฤติกรรมกอนสอน และหลังสอน ครั้งที่ กอนสอน หลังสอน 1 ดานความรู - ความรูยังมีนอยขาดทักษะบางอยาง - การปฏิบัติยังมีการเกร็งขอมือ -นักเรียนไมกลา ออกความคิดเห็นที่จะ เลือกงานที่หลากหลาย ดานความรู - มีความรูมากขึ้นทักษะหลายๆอยางดีขึ้น - รางกายปรับสภาพไดดีขึ้นกลามเนื้อไดผอน คลาย - นักเรียนกลาที่จะตัดสินใจในการทํางานที่ หลากหลาย 2 ความรับผิดชอบ - นักเรียนยังขาดความรับผิดชอบตอผลงาน ที่จะทํางานใหสําเร็จ ความรับผิดชอบ - นักเรียนเริ่มมีความรับผิดชอบมากขึ้นที่จะ ทํางานใหสําเร็จ จากตารางแสดงใหเห็นวามีการพัฒนาของนักเรียนดีขึ้นมีทั้งการพัฒนาทางรางกายจิตใจ อารมณสติปญญา ควรมีการสงเสริมนักเรียนใหมากขึ้นและควรปฏิบัติอยางตอเนื่อง

ภาคผนวก

(11)

1. แบบฟอรมรายงานการวิจัยชั้นเรียนปการศึกษา 2547 2. ตารางการทําวิจัยในชั้นเรียน

(12)

เครื่องมือที่ใชในการทําวิจัย การประดิษฐ - การประดิษฐนกกระดาษ - การประดิษฐโครงงาน ( นักเรียนเลือกทํา ) สื่อการจัดกิจกรรม - สื่อรูปภาพ - หนังสือกุลสตรี - หนังสืองานฝมือ - หนังสือประดิดประดอย - หนังสือหนึ่งผลิตภัณฑหนึ่งตําบล - สื่อ VDO. - แบบสาธิตจากครูเพื่อนนักเรียนที่ปฏิบัติไดดี

(13)

เกณฑการประเมินแบบการพัฒนาการทํางานประดิษฐของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 การทํานก ระดับ 3 ทําไดสวยงามปราณีตเรียบรอยสงงานตามเวลาที่กําหนด ระดับ 2 ทําไดพอใชสงงานตรงกําหนด ระดับ 1 ปรับปรุงผลงาน การทําโครงงาน งานประดิษฐ ระดับ 3 ทําไดสวยงามปราณีตเรียบรอยสงงานตามเวลาที่กําหนด ระดับ 2 ทําไดพอใชสงงานตรงกําหนด ระดับ 1 ปรับปรุงผลงาน อุปกรณในการทํางาน ระดับ 3 มีอุปกรณในการทํางานพรอม การเก็บรักษาอุปกรณเก็บบริเวณพื้นที่เรียบรอย ระดับ 2 มีอุปกรณในการทํางานพรอม การเก็บรักษาอุปกรณ พอใช ระดับ 1 มีอุปกรณบางเล็กนอย ( ควรปรับปรุงผลงาน )

References

Related documents

In the Commerzbank Service Centre Rittal installed over 2800 Rittal TS 8 Server and Network Racks with various configurations of accessories and special cable management

Patrick’S Day: the comPlete GuiDe to Social meDia marketinG for BuSineSSeS...

Steele of Stanford University Online High said that shift is already underway: In a recent survey of ASCA members, she and her colleagues found that more than one-fourth of

Evidence for the ‘‘situational-specificity’’ hypothesis was obtained among our sample of substance abusing women: More frequent PTSD symptoms were significantly associated with

[r]

The high conductivity of these parts virtually ensured that no matter where the heat was applied to the joint, on the tube surface or the fitting/component surface, the heat from

Third group include the countries that the government is responsible for enactment of accounting standards in it’s (for example, Australia, China, France, and Malaysia). Some

If STI is defined, conceptualized, and understood as a mechanism that is, for example, useful in converting African history, stories and folklores, crafts, culture and traditions, and