• No results found

กระบวนการ KM / ก จกรรมการ จ ดการความร จานวน ผลการประเม น/ หมายเหต กล ม เป าหมาย

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "กระบวนการ KM / ก จกรรมการ จ ดการความร จานวน ผลการประเม น/ หมายเหต กล ม เป าหมาย"

Copied!
8
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

-๒๙- แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : แผนที่ ๒ : ๓.๑.๔ ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าถึงหลักประกันทางสังคม (ส านักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ) ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริมความมั่นคงทางสังคมของผู้สูงอายุ องค์ความรู้ที่จ าเป็น : การพัฒนากระบวนการกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ ตัวชี้วัดตามค ารับรองที่ : ๓.๑.๔ ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าถึงหลักประกันทางสังคม (๒,๕๐๐ คน) เหตุผลในการเลือก : ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าถึงหลักประกันทางสังคม โดยการพัฒนากระบวนการกู้ยืมเงินกองทุนประกอบอาชีพ ล า ดับ กระบวนการ KM / กิจกรรมการ จัดการความรู้ ระยะ เวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เป้าหมาย กลุ่ม จ านวน เป้าหมาย ที่ท าได้ สถาน ที่ วิธีการด าเนินงาน ผลการด าเนินงาน ผลการประเมิน/หมายเหตุ การบ่งชี้ความรู้ ๑. ประชุม คณะท างานจัดการ ความรู้เพื่อทบทวน ยุทธศาสตร์ KM/ จ าแนก/สรุปเลือก องค์ความรู้ที่ส าคัญ และจ าเป็นในการ ปฏิบัติงานเพื่อ ผลักดันประเด็น ยุทธศาสตร์ สท. ไปสู่ความส าเร็จ ธ.ค. ๒๕๕๓ – ก.พ. ๒๕๕๔ - จ านวน องค์ความรู้ ที่ได้จากการ ประชุม จ านวน ๑ องค์ความรู้ - คณะท างาน KM - คณะท างาน กองทุน ผู้สูงอายุ ๑ องค์ความรู้ ที่จ าเป็น คือ “การพัฒนา กระบวนการ กู้ยืมเงินทุน ประกอบ อาชีพ” สท. ประชุมคณะท างานจัดการความรู้ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ KM/ จ าแนก/สรุปเลือกองค์ความรู้ที่ ส าคัญและจ าเป็นในการปฏิบัติงาน เพื่อผลักดันประเด็นยุทธศาสตร์ สท. ไปสู่ความส าเร็จ - คณะท างาน KM ของ สทส. พิจารณาวิเคราะห์ประเด็น ยุทธศาสตร์ ส าหรับเลือกองค์ความรู้ หลัก และทบทวนการท างาน KM ที่ ผ่านมา พร้อมทั้งปรับองค์ประกอบ ของคณะท างาน - ประชุมคณะท างานกองทุนฯ วิเคราะห์ ทบทวนผลการด าเนินงาน และเลือกความรู้ ที่ส าคัญและจ าเป็น ในการปฏิบัติงานด้านการให้บริการ การกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ - รายงานการประชุม คณะท างาน KM - รายงานการประชุม คณะท างานกองทุน ผู้สูงอายุ

(2)

-๓๐- แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : แผนที่ ๒ : ๓.๑.๔ ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าถึงหลักประกันทางสังคม (ส านักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ) ล า ดับ กระบวนการ KM / กิจกรรมการจัดการความรู้ ระยะ เวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เป้าหมาย กลุ่ม จ านวน เป้าหมาย ที่ท าได้ สถาน ที่ วิธีการด าเนินงาน ผลการด าเนินงาน ผลการ ประเมิน/ หมายเหตุ การสร้างและแสวงหาความรู้ ๑. ศึกษา พ.ร.บ. กฎระเบียบที่ เกี่ยวข้อง เพื่อวิเคราะห์ผลการ ด าเนินงาน และทบทวนขั้นตอน การท างาน โดยศึกษาจุดอ่อน จุดแข็ง การให้บริการเงินกู้ ทุนผู้สูงอายุ ๒. ศึกษาเทคนิค วิธีการในการ จัดการข้อมูล (การจัดเก็บข้อมูล การสืบค้นข้อมูล การแสดงผล ข้อมูล) ด้วยระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อปรับเปลี่ยน วิธีการในการให้กู้ยืมและเป็น ช่องทางในการสื่อสาร แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง สทส. และ พมจ. ก.พ. – เม.ย. ๒๕๕๔ - มี แนวทางใน การพัฒนา กระบวน การกู้ยืม เงินทุน ประกอบ อาชีพ จ านวน ๑ แนวทาง - เจ้าหน้าที่ กองทุน ผู้สูงอายุ - มีแนวทาง ในการ พัฒนา กระบวน การกู้ยืม เงินทุน ประกอบ อาชีพ สท. ศึกษา พ.ร.บ. กฎระเบียบที่ เกี่ยวข้อง เพื่อวิเคราะห์ผลการ ด าเนินงาน และทบทวนขั้นตอน การท างาน โดยศึกษาจุดอ่อน จุดแข็ง การให้บริการเงินกู้กองทุน ประกอบอาชีพ ศึกษาเทคนิค วิธีการในการจัดการ ข้อมูล (การจัดเก็บข้อมูล การสืบค้น ข้อมูล การแสดงผล ข้อมูล) ด้วยระบบเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อปรับเปลี่ยนวิธีการ ในการให้กู้ยืม และเป็นช่องทางใน การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่าง สทส. และ พมจ. ระยะเวลาระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ – เมษายน ๒๕๕๔ มีแนวทางในการจัดเก็บข้อมูล ผู้ขอกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ ด้วยระบบ IT - เอกสารที่ เกี่ยวข้อง (พ.ร.บ. กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้อง - ข้อมูล ผู้ขอกู้ยืม เงินทุน ประกอบ อาชีพ ด้วย ระบบ IT

(3)

-๓๑- แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : แผนที่ ๒ : ๓.๑.๔ ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าถึงหลักประกันทางสังคม (ส านักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ) ล า ดับ กระบวนการ KM / กิจกรรมการจัดการความรู้ ระยะ เวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เป้าหมาย กลุ่ม จ านวน เป้าหมาย ที่ท าได้ สถาน ที่ วิธีการด าเนินงาน ผลการด าเนินงาน ผลการ ประเมิน/ หมายเหตุ การจัดการความรู้ ให้เป็นระบบ ๑. รวบรวมความรู้ จัดหมวดหมู่ ปรับลดข้อมูลที่ซ้ าซ้อน และจัดท า ข้อมูลด้านการกู้ยืมเงินทุน ประกอบอาชีพ ด้วยรูปแบบ Excel โดยใช้ระบบ IT ๒. ศึกษา ออกแบบเว็บไซด์กองทุน ผู้สูงอายุ โดยเพิ่มเติมรูปแบบ Excel ในเมนู เป็นเมนูใหม่ เพื่อใช้ ในการตรวจสอบน าเข้าข้อมูล ประมวลผลข้อมูลกู้ยืมเงินทุน ประกอบอาชีพ ม.ค. – เม.ย. ๒๕๕๔ -รูปแบบ ของ กระบวน การกู้ยืม เงินทุน ประกอบ อาชีพ - จ านวน ๑ รูปแบบ -เจ้าหน้าที่กองทุน ผู้สูงอายุ - รูปแบบ ใหม่ของ กระบวน การกู้ยืม เงินทุน ประกอบ อาชีพ โดย ใช้ระบบ IT ใน รูปแบบ Excel สท. - รวบรวมความรู้ จัดหมวดหมู่ ปรับลอกข้อมูลที่ซ้ าซ้อน และ จัดท าข้อมูลด้านการกู้ยืมเงินทุน ประกอบอาชีพด้วยรูปแบบ Excel โดย ใช้ระบบ IT - ศึกษาออกแบบเว็บไซด์กองทุน ผู้สูงอายุ โดยเพิ่มเติมเมนูใหม่ ในรูปแบบ Excel เพื่อใช้ในการ ตรวจสอบน าเข้าข้อมูล ประมวลผลข้อมูลกู้ยืมเงินทุน ประกอบอาชีพ - การปรับแบบฟอร์มบันทึกผู้ขอกู้ยืม เงินทุนประกอบอาชีพในรูปแบบ Excel จากเดิมจะเป็นการกรอก ข้อมูลโดยเจ้าหน้าที่ส่วนกลาง ซึ่งมี ตาราง ๙๔ ช่อง ได้มีการพัฒนาโดย การรวบรวมจัดหมวดหมู่ละปรับลด ข้อมูลที่ซ้ าซ้อนเหลือจ านวนตาราง ๒๗ ช่อง ส่งผลให้เจ้าหน้าที่ พมจ. ลงข้อมูลได้ถูกต้อง สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพขึ้น - รายงาน การประชุม คณะ ท างาน KM -แบบฟอร์ม รูปแบบ Excel ที่มีการพัฒนา - เว็บไซด์ กองทุน ผู้สูงอายุ

(4)

-๓๒- แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : แผนที่ ๒ : ๓.๑.๔ ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าถึงหลักประกันทางสังคม (ส านักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ) ล า ดับ กระบวนการ KM / กิจกรรมการจัดการความรู้ ระยะ เวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เป้าหมาย กลุ่ม จ านวน เป้าหมาย ที่ท าได้ สถาน ที่ วิธีการด าเนินงาน ผลการด าเนินงาน ผลการ ประเมิน/ หมายเหตุ การประมวล และกลั่นกรอง ความรู้ ๑. จัดประชุมคณะท างาน KM ของ สทส. และ คณะท างาน กองทุนผู้สูงอายุ พ.ค. ๒๕๕๔ - รูปแบบของ กระบวน การกู้ยืม เงินทุน ประกอบ อาชีพ - มีการ พัฒนา รูปแบบของ กระบวน การกู้ยืม เงินทุน ประกอบ อาชีพ - ผอ.สทส. - ผู้เชี่ยวชาญ ด้านผู้สูงอายุ - คณะท างาน KM, - เจ้าหน้าที่ สทส. - รูปแบบ ของ กระบวน การกู้ยืม เงินทุน ประกอบ อาชีพที่ ได้รับการ พัฒนา สท. ประชุมคณะท างาน KM ของ สทส. และคณะท างานกองทุน ผู้สูงอายุ โดยเชิญ ผอ.สทส. และ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านผู้สูงอายุ เป็นผู้วิพากษ์ ระยะเวลาช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๔ - มีการปรับรูปแบบใหม่ของ กระบวนการกู้ยืมเงินทุนฯ ในรูปแบบ Excel ออกจากเว็บบอร์ดของกองทุน ผู้สูงอายุ เพื่อให้เกิดความสะดวกใน การค้นหา และง่ายต่อการเข้าไปกรอก ข้อมูลของเจ้าหน้าที่ในส่วนภูมิภาค - รายงาน การประชุม - เว็บไซด์ www. olderfund. opp.go.th

(5)

-๓๓- แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : แผนที่ ๒ : ๓.๑.๔ ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าถึงหลักประกันทางสังคม (ส านักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ) ล า ดับ กระบวนการ KM / กิจกรรมการจัดการความรู้ ระยะ เวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เป้าหมาย กลุ่ม จ านวน เป้าหมาย ที่ท าได้ สถาน ที่ วิธีการด าเนินงาน ผลการด าเนินงาน ผลการ ประเมิน/ หมายเหตุ การเข้าถึงความรู้ ๑. จัดท าคู่มือการใช้งานระบบ กู้ยืมเงินผู้สูงอายุ ๒. การเผยแพร่คู่มือการใช้งาน ระบบกู้ยืมเงินทุนประกอบ อาชีพ (ในระบบเว็บไซด์ของ กองทุนฯ) มิ.ย. – ก.ค. ๒๕๕๔ - มีช่องทาง ในการ เรียนรู้/ เข้าถึง ความรู้ของ กระบวน การกู้ยืม เงินทุน ประกอบ อาชีพ - ๒ ช่องทาง - เจ้าหน้าที่ กองทุนฯ, - เจ้าหน้าที่ พมจ. - ผู้สูงอายุที่ สนใจการ กู้ยืมเงินทุนฯ - มีช่องทาง ในการ เข้าถึง ความรู้ด้าน กระบวน การกู้ยืม เงินทุนฯ ๒ ช่องทาง สท. มีช่องทางในการเรียนรู้/เข้าถึง ความรู้ของกระบวนการกู้ยืม เงินทุนประกอบอาชีพประเภทราย บุคลส าหรับเจ้าหน้าที่ส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ โดยจัดท าเป็นคู่มือการ ใช้งาน และเผยแพร่คู่มือการใช้ งานฯ ดังกล่าวในระบบเว็บไซด์ ของกองทุนผู้สูงอายุ - มีการพัฒนาช่องทางในการเข้าถึง ความรู้ด้านกระบวนการกู้ยืมเงินทุน ดังนี้ ๑. คู่มือการใช้งานระบบกู้ยืมเงินทุน ประกอบอาชีพ ๒. การเผยแพร่คู่มือการใช้งานฯ - เว็บไซด์ กองทุน ผู้สูงอายุ www. olderfund. opp.go.th

(6)

-๓๔- แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : แผนที่ ๒ : ๓.๑.๔ ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าถึงหลักประกันทางสังคม (ส านักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ) ล า ดับ กระบวนการ KM / กิจกรรมการจัดการความรู้ ระยะ เวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เป้าหมาย กลุ่ม จ านวน เป้าหมาย ที่ท าได้ สถาน ที่ วิธีการด าเนินงาน ผลการด าเนินงาน ผลการ ประเมิน/ หมายเหตุ ๖ การแบ่งบัน แลกเปลี่ยนความรู้ การประชุมซักซ้อมความเข้าใจ ในการปฏิบัติงานกองทุน ผู้สูงอายุ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ - เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในกระบวนการและแนวทางใน การพัฒนาการกู้ยืมเงินกองทุนฯ - เพื่อน าเสนอระบบการน าเข้า ข้อมูลการกู้ยืมเงินทุนประกอบ อาชีพรูปแบบใหม่ และติดตาม ผลการน าเข้าข้อมูล ก.ค. ๒๕๕๔ - ร้อยละของ เจ้าหน้าที่ พมจ. ที่ได้รับ การเสริมสร้าง ความรู้ใน กระบวนการ และแนวทาง การพัฒนาการ กู้ยืมเงินทุน ประกอบอาชีพ -ร้อยละของ เจ้าหน้าที่ พมจ. ที่มีความ พึงพอใจในการ ปฏิบัติงานตาม รูปแบบที่ ก าหนด - ร้อยละ ๙๐ เจ้าหน้าที่ พมจ. ๗๕ คนจาก ๗๕ จังหวัด มีผู้เข้าร่วม ประชุม จ านวน ๑๒๘ คน โรงแรม เฟิร์ท กทม. การประชุมซักซ้อมความเข้าใจใน การปฏิบัติงานกองทุนผู้สูงอายุ โดย สร้างความรู้ ความเข้าใจใน กระบวนการและแนวทางในการ พัฒนาการกู้ยืมเงินกองทุนฯ และ น าเสนอระบบการน าเข้าข้อมูล การกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ รูปแบบใหม่ - เจ้าหน้าที่/ผู้รับผิดชอบ การกู้ยืมเงินทุน ผู้สูงอายุจาก พมจ. จ านวน ๑๒๘ คน มีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการ และแนวทางการปฏิบัติงานตาม รูปแบบของกระบวนการกู้ยืมเงินทุน ประกอบอาชีพที่ได้รับการพัฒนา - ร้อยละ ๙๕ ของผู้เข้าร่วมการ ประชุมมีความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงานตามรูปแบบที่ก าหนด ใน ระดับมากขึ้นไป - จ านวน ผู้เข้าร่วม ประชุม จ านวน ๑๒๘ คน - สรุปผลการ ประชุม ซักซ้อม ความเข้าใจ ในการ ปฏิบัติงาน กองทุน ผู้สูงอายุ

(7)

-๓๕- แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : แผนที่ ๒ : ๓.๑.๔ ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าถึงหลักประกันทางสังคม (ส านักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ) ล า ดับ กระบวนการ KM / กิจกรรมการจัดการความรู้ ระยะ เวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เป้าหมาย กลุ่ม จ านวน เป้าหมาย ที่ท าได้ สถาน ที่ วิธีการด าเนินงาน ผลการด าเนินงาน ผลการ ประเมิน/ หมายเหตุ การเรียนรู้และยกย่องชมเชย ๑. จัดเวทีถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่องการพัฒนากระบวนการกู้ยืม เงินทุนประกอบอาชีพ ให้กับ เจ้าหน้าที่ สท. ก.ค. ๒๕๕๔ - ร้อยละของ เจ้าหน้าที่ สท. ที่เข้า ประชุม แลกเปลี่ยน ความรู้ - ร้อยละ ๙๐ - บุคลากร สท. จ านวน ๑๐๐ คน - การจัดเวที ถ่ายทอด องค์ความรู้ เรื่อง การ พัฒนา กระบวน การกู้ยืม เงินทุนฯ สท. จัดเวทีถ่ายทอดความรู้ เรื่อง การ พัฒนากระบวนการกู้ยืมเงินทุน ประกอบอาชีพให้กับเจ้าหน้าที่ สท. - การจัดเวทีถ่ายทอดองค์ความรู้ เรื่อง การพัฒนากระบวนการกู้ยืม เงินทุนฯ โดยมีบุคลากร สท. เข้าร่วม จ านวน ๑๐๖ คน - สรุปผลการ จัดเวที ถ่ายทอด องค์ความรู้ฯ ๒. จัดกิจกรรมยกย่อง ชมเชย และการให้รางวัล KM Awards เพื่อสร้างแรงจูงใจการน าเข้า ข้อมูล ก.ค. ๒๕๕๔ - จ านวนรางวัล ด้านการ น าเข้า ข้อมูลผ่าน ระบบ IT - ๓ รางวัล - เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ทั้ง ๗๕ จังหวัด - มีการมอบ รางวัล KM Awards แก่ เจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติ งานกู้ยืม เงินทุนฯ ๔ รางวัล สท. จัดกิจกรรมยกย่องชมเชย และการ ให้รางวัล KM Awards เพื่อสร้าง แรงจูงใจการน าเข้าข้อมูล ให้แก่ เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในการ ให้บริการกู้ยืมเงินทุนประกอบ อาชีพส าหรับผู้สูงอายุ ของ พมจ. ๗๕ จังหวัด - จัดประกวดและมอบรางวัล KM Awards แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานฯ พมจ. ด้านกองทุนผู้สูงอายุ ประเภท การน าเข้าข้อมูลผ่านระบบ IT จ านวน ๔ รางวัล โดย ผอ.สท. (นายสมชาย เจริญอ านวยสุข) - เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานฯ มีขวัญ ก าลังใจ ในการขับเคลื่อนการ ด าเนินงานด้านการให้บริการกู้ยืม เงินทุนประกอบอาชีพของผู้สูงอายุ โดยมุ่งประสิทธิภาพ การมีส่วนร่วม และผลสัมฤทธิ์ - การมอบรางวัล KM Awards (สรุปการประชุม ซักซ้อมความ เข้าใจในการ ปฏิบัติงาน กองทุนผู้สูงอายุ ณ รร .เฟิร์ท กทม.)

(8)

-๓๖- แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) : แผนที่ ๒ : ๓.๑.๔ ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าถึงหลักประกันทางสังคม (ส านักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้สูงอายุ) ล า ดับ กระบวนการ KM / กิจกรรมการจัดการความรู้ ระยะ เวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เป้าหมาย กลุ่ม จ านวน เป้าหมาย ที่ท าได้ สถาน ที่ วิธีการด าเนินงาน ผลการด าเนินงาน ผลการ ประเมิน/ หมายเหตุ ๓. กิจกรรม KM AWARDS ส.ค – ก.ย ๒๕๕๔ - จ านวน รางวัล ประเภทการ ติดตามเงิน ค้างช าระ จากการ กู้ยืมเงินฯ โดยไม่มี ผู้ค้างช าระ - ๓ รางวัล - พมจ. ๗๕ จังหวัด - มีการมอบรางวัล KM Awards แก่ จังหวัดที่มี การติดตาม เงินค้าง ช าระจาก การกู้ยืม เงินฯ โดยไม่ มีผู้ค้างช าระ รร. เฟิร์ท กทม. จัดประกวดและมอบรางวัลให้กับ หน่วยงานที่มีผลการด าเนินงาน ด้านการติดตามเงินค้างช าระจาก การกู้ยืมเงินฯ โดยไม่มีผู้ค้างช าระ จ านวน ๓ รางวัล - จัดประกวดและมอบรางวัลแก่ หน่วยงานที่มีผลการด าเนินงาน ด้านการติดตามเงินค้างช าระจากการ กู้ยืมเงินฯ โดยไม่มีผู้ค้างช าระ จ านวน ๓ รางวัล โดย ผอ.สท. (นายสมชาย เจริญอ านวยสุข) - การมอบ รางวัล KM Awards ใน ระดับ หน่วยงาน (สรุปการ ประชุม ซักซ้อมความ เข้าใจในการ ปฏิบัติงาน กองทุน ผู้สูงอายุ ณ รร.เฟิร์ท กทม.)

References

Related documents

CREATE TABLE Student(StudentNum integer primary key, Name string, Degree string); CREATE TABLE StudentAdvisor(SIN integer, StudentNum integer, StartDate string, PRIMARY

–  President, Bolton Research Corporation; A media consulting firm. –  Advised and negotiated with over 250 major media/marketing

Although far too many workers continue to die as a result of work-related injuries, the number of fatalities has fallen in the last year: 163 deaths were reported in 1998-99, which

They suggested to using Qurk [10], a declarative query processing system to implement crowd- based joins, and the workflow for ER is only crowd-based, i.e., crowdsourcing is used

Specific Power does not just reduce the fuel consumption—it can also have a large impact on production, particularly when the limiting unit in the train is the compressor drivers. The

secondary organic aerosol coating on black carbon particles near vehicular emissions, Atmos. L., and Bandy, B.: Ambient

The ability offered by TSO for WPWE OSD is published on TSO’s website and is equivalent to the total capacity (contractual capacity) acquired by the DSO from