• No results found

แนะนาเอกสาร Microsoft Word

N/A
N/A
Protected

Academic year: 2021

Share "แนะนาเอกสาร Microsoft Word"

Copied!
49
0
0

Loading.... (view fulltext now)

Full text

(1)

แนะน าเอกสาร

Microsoft Word

[ความรู้เกี่ยวกับการใช้งานโปรแกรม Microsoft Word ซึ่งรวบรวมเนื้อหา เกี่ยวกับค าสั่งการใช้งานที่ค่อนข้างมีความจ าเป็นกับการใช้งานพิมพ์เอกสาร รวมทั้งเกร็ดความรู้และคีย์ลัดที่ช่วยในการท างานให้สะดวกและรวดเร็วมากขึ้น] ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา [Version 1.1]

(2)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม

สารบัญ

49B หน้า 1B 1.แนะน าMicrosoft word ... 4 2B 2.เริ่มต้นใช้งาน Microsoft Word ... 5 5B 2.1 การสร้างเอกสารใหม่ ... 6 6B 2.2 การบันทึกเอกสารที่สร้าง ... 7 7B 2.3 การบันทึกเอกสารเป็นชื่อใหม่ ... 7 8B 2.4 การเปิดเอกสารที่บันทึกไว้กลับมาใช้งาน ... 8 9B 2.5 การปิดเอกสาร ... 8 10B 2.6 การออกจากโปรแกรม ... 9 11B 2.7 การใช้มุมมองต่างๆใน Microsoft word ... 9 12B 2.8 การเรียกดูเอกสารในหน้าอื่นๆ ... 15 3B 3. ป้อนข้อความลงในเอกสาร ... 16 13B 3.1 การสร้างเอกสาร ... 16 39B 3.1.1 วิธีการเลื่อนจุดแทรกข้อความด้วยเมาส์และคีย์บอร์ด ... 16 40B 3.1.2 การป้อนข้อความปกติด้วยคีย์บอร์ด ... 17 41B 3.1.3 การสลับแป้นพิมพ์ระหว่างภาษาไทยและอังกฤษ ... 17 14B 3.2การเลือกตัวอักษรและข้อความ ... 18 15B 3.3การคัดลอกข้อความ ... 19 16B 3.4 การคัดลอกข้อความ ... 20 17B 3.5 การค้นหาและแทนที่ข้อความในเอกสาร ... 21 18B 3.6 การสร้างข้อความอัตโนมัติ ... 22 19B 3.7 การยกเลิกการใช้ค าสั่งครั้งที่ผ่านมา ... 23 20B 3.8 การแทรกข้อคิดเห็น ... 24 4B 4.ฟอนต์และการตกแต่งเอกสาร ... 25 21B 4.1 จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้าย หรือชิดขวา ... 25 22B 4.2 การตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง ... 26 23B 4.3 การก าหนดต าแหน่งแท็บหยุด ... 27 24B 4.5 การปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อหน้า ... 28 25B 4.6 การปรับแต่งฟอนต์ในเอกสาร ... 29 26B 4.7 การก าหนดตัวหนา ตัวเอนและขีดเส้นใต้ ... 30 27B 4.8 แสดง Bullet หรือเลขล าดับข้อความ ... 31 28B 4.9 เปลี่ยนหน้าตาสัญลักษณ์ หรือเลขล าดับ ... 32 29B 4.10 การใช้ตัวแก้สมการ ... 33 42B 4.10.1 การเปิดเครื่องมือ Microsoft Equation ขึ้นมาใช้งาน ... 33 43B 4.10.2 เลือกสูตร/สัญลักษณ์ที่ต้องการ ... 35 44B 4.10.3 การแก้ไขสูตร ... 36 45B 4.10.4 ขยาย/ลดขนาดของสูตร ... 36

(3)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 4.11 การสะกดและไวยากรณ์ ... 37 30B 4.12 การใช้งานตัวคัดวางรูปแบบ ... 38 31B 4.13 การแบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์ ... 39 32B 4.14 การท าตัวอักษร Drop Cap ... 40 33B 4.15 การดูตัวอย่างก่อนพิมพ์เอกสาร ... 41 34B 4.16 การพิมพ์เอกสาร ... 42 5.เกร็ดความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ... 44 35B 5.1 ระบบความปลอดภัย ... 44 36B37B 5.2 คีย์ลัดส าหรับโปรแกรม Microsoft Word ... 46 47B 5.3 แถบเครื่องมือต่างๆ ของโปรแกรม Microsoft Word ... 48

(4)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม

1.แนะน าMicrosoft word

50B โปรแกรม Microsoft Word เริ่มน าเข้ามาใช้ในเมืองไทยครั้งแรกจะเป็นเวอร์ชั่น 2.0 โดยท างานบน Windows 3.0 ขึ้นไป ซึ่งได้รับการตอบรับจากผู้ใช้งานพอสมควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ใช้งานที่มีอุปกรณ์ต่อพ่วงเพิ่มเติม คือ เมาส์ ( Mouse ) และมีแถบ เครื่องมือท าให้ผู้ใช้แทบจะไม่ต้องจดจ าค าสั่ง เพียงแต่จ ารูปแถบเครื่องมือให้ได้ แต่ เนื่องจากในช่องแรกๆ ที่เข้ามาในประเทศไทย ระบบการจัดการภาษาไทยยังไม่ดีพอ จึงท า ให้โปรแกรม Microsoft Word เวอร์ชั่น 2.0 ยังไม่เป็นที่นิยมเท่าที่ควร จนกระทั้งบริษัท ไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น จ ากัด ได้พัฒนาโปรแกรมMicrosoft Word เวอร์ชั่น 2.0 เป็น เวอร์ชั่น 6.0 ท าให้เป็นที่นิยมอีกครั้ง และผู้ใช้จ านวนมากลืมโปรแกรม Word Processing ตัวอื่นๆ โดยสิ้นเชิงเพราะถูกใจประสิทธิภาพของโปรแกรม และยิ่งไปกว่านั้น บริษัท ไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น จ ากัด ยังไม่ได้รวมชุด Microsoft Office ซึ่งประกอบ ด้วย โปรแกรม Microsoft Word , Microsoft Excel , Microsoft PowerPoint และ Microsoft Access เข้าด้วยกัน ท าให้โปรแกรม Microsoft Word ยิ่งได้รับความนิยมมากขึ้น

51B

ต่อมาบริษัท ไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น จ ากัด ได้พัฒนาโปรแกรมชุด Microsoft Office เป็นMicrosoft Office 97 ซึ่งเป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพอย่างมาก และเป็นที่ นิยมใช้โดยทั่วไปจนถึงทุกวันนี้เพราะนอกจากเพิ่มลูกเล่นมากมายแล้ว ยังเพิ่มโปรแกรมให้ ด้วย เช่น Microsoft Outlookโปรแกรมชุด Microsoft Office 97 สามารถติดตั้งได้ทั้งบน Windows 95 และ Windows 98 ในปัจจุบันโปรแกรมชุด Microsoft Office 97 ได้รับการ พัฒนาเป็น Microsoft 2000 ซึ่งเป็นที่นิยมต่อมาเรื่อยๆ บริษัทไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น ได้มีการพัฒนาโปรแกรม Microsoft Office XP,Microsoft Office 2002 , Microsoft Office 2003 และในรุ่นปัจจุบันที่บริษัท ไมโครซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น จ ากัด ได้พัฒนาคือ Microsoft Office 2007

(5)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม ชื่อเอกสารที่เปิดใช้งาน แถบเมนู แถบเครื่องมือ ง ขอความช่วยเหลือ ง ขอความช่วยเหลือ ง ขอความช่วยเหลือ ง

2.เริ่มต้นใช้งาน Microsoft Word

52B เมื่อท าการติดตั้งโปรแกรม Microsoft Office สามารถเข้าสู่โปรแกรม และเริ่มต้นใช้ งาน Microsoft Word ซึ่งการเข้าไปใช้งานของ Microsoft word สามารถเข้าไปใช้งานได้ หลายวิธีดังนี้

53BU

วิธีที่ 1

1. 54Bโดยคลิกเมาส์ที่ปุ่ม

2. 55Bเลือก [ All Program > Microsoft Office > Microsoft Office Word ]

56BU วิธีที่ 2 57B กรณีที่หน้าต่างของ Windows (Desktop) มีไอคอน สามารถเข้าโปรแกรม ผ่านทางไอคอนได้เลย 58B เมื่อสามารถเข้าไปในโปรแกรม Microsoft word ได้แล้วจะปรากฏหน้าตาของ Microsoft word ดังนี้ แถบเครื่องมือ ง วัดระยะแนวนอน ง วัดระยะแนวตั้ง พื้นที่การพิมพ์ แถบเลื่อนแนวตั้ง แถบเลื่อนแนวนอน แถบสถานะ มุมมอง

(6)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 59Bการเริ่มต้นการท างานของเอกสาร ให้สร้างเอกสารใหม่ขึ้นมาก่อน โดยอาจเลือก สร้างเอกสารเปล่าขึ้นมาและการสร้างเอกสารใหม่นั้นมีวิธีการต่างๆดังนี้ 60BU วิธีที่ 1 61B การสร้างเอกสารใหม่วิธีการที่ง่ายที่สุดคือ การเข้าผ่านทางไอคอนที่แถบเครื่องมือ คือ และเอกสารใหม่ก็จะเกิดขึ้น 62BU วิธีที่ 2 63B การสร้างเอกสารใหม่อีกวิธีการหนึ่งได้โดยเข้าเมนูแฟ้มก็ได้โดยมีวิธีการดังนี้ 1. 64Bเลือกเมนู [ แฟ้ม --> สร้าง ] 2. 65Bหน้าต่างงาน เอกสารใหม่ ส าหรับเลือกสร้างเอกสารใหม่

(7)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม

6B

2.2 การบันทึกเอกสารที่สร้าง

66B

เมื่อท าการพิมพ์ข้อมูลต่างๆ ลงบนเอกสารที่สร้างขึ้นเรียบร้อยแล้ว ก่อนออกจาก โปรแกรม Microsoft word ต้องท าการบันทึก หรือ save เอกสารที่พิมพ์ไว้ก่อน เพื่อจะได้ น าเอกสารนั้นมาใช้ในครั้งต่อไปได้อีก โดยตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลได้ยาวถึง 256 ตัวอักษรหรือ โดยการเลือกไอคอนบนแถบเครื่องมือ 7B

2.3 การบันทึกเอกสารเป็นชื่อใหม่

67B เมื่อต้องการท าส าเนา หรือส ารองแฟ้มข้อมูลเอกสารที่สร้างขึ้น โดยบันทึกเป็น ชื่อหนึ่งไว้แล้ว ดังนั้นผู้ใช้งานสามารถบันทึกเอกสารให้เป็นแฟ้มข้อมูลใหม่ได้ โดยที่ เอกสารเดิมผู้ใช้งานจะยังคงอยู่ด้วย โดยใช้ค าสั่ง [แฟ้ม> บันทึกเป็น] 4.คลิกเมาส์ บันทึก 3.ตั้งชื่อให้กับแฟ้มข้อมูลที่บันทึก 3. ตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลใหม่ 2. เลือกต าแหน่งที่ต้องการบันทึก 1. เลือกค าสั่ง [แฟ้ม> บันทึกเป็น] 1.เลือกค าสั่ง [แฟ้ม -->บันทึก] หรือ <Ctrl+S> 2.ระบุต าแหน่งเก็บ ข้อมูล

(8)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 68Bข้อดีของการบันทึกแฟ้มข้อมูลเอกสารไว้คือ ผู้ใช้งานสามารถเปิดเอกสารเหล่านั้น ขึ้นมาอ่านหรือแก้ไขเพิ่มเติมในครั้งต่อไปได้ตามต้องการ มีขั้นตอนต่อไปนี้ 69B2 9B

2.5 การปิดเอกสาร

70Bเมื่อท าการบันทึกเรียบร้อยแล้ว และไม่ต้องท างานกับเอกสารเดิมอีกในขณะนั้น ก็ ควรปิดเอกสารเสีย โดยเลือกค าสั่ง[แฟ้ม> ปิด] หรือคลิกเมาส์ที่ปุ่ม บนหน้าต่าง เอกสาร 4.คลิกเมาส์ 2. เลือกค าสั่งส าหรับจัดการกับแฟ้มข้อมูลเอกสารก่อน 1.เลือกค าสั่ง [แฟ้ม > เปิด] หรือ<Ctrl+O>หรือ 2. ระบุต าแหน่งที่เก็บแฟ้มข้อมูล 3.คลิกเมาส์เลือกแฟ้มข้อมูล 1. เลือกค าสั่ง[ แฟ้ม > ปิด ] หรือคลิกเมาส์ซ้ายที่ปุ่ม บนหน้าต่าง เอกสาร

(9)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 71Bหลังจากที่ได้เสร็จสิ้นการใช้โปรแกรม Word และบันทึกเอกสารแล้ว ก่อนปิดเครื่อง หรือเรียกใช้โปรแกรมอื่น ควรออกจากโปรแกรม Word เสียก่อน โดยมีขั้นตอนคือ [แฟ้ม> จบการ-ท างาน] หรือคลิกเมาส์ที่ปุ่ม ที่อยู่ด้านบนขวา 72B1. เลือก [ แฟ้ม > จบการท างาน ] หรือคลิกเมาส์เพื่อปิดโปรแกรม 11B

2.7 การใช้มุมมองต่างๆใน Microsoft word

73B เพื่อความสะดวกในการสร้างและท างานกับเอกสาร Microsoft word สามารถ แสดงเอกสารได้หลายมุมมอง (View) โดยแต่ละมุมมองจะมีรูปแบบและการใช้งานที่ แตกต่างกัน ซึ่งผู้ใช้งานสามารถสลับระหว่างแต่ละมุมมองได้โดยมี 2 วิธีการดังนี้ 74BU วิธีที่ 1 U 1. เลือกค าสั่ง มุมมอง 75B 2. เลือกมุมมองที่ต้องการโดยจะมีให้เลือกดั้งนี้ 76B2.1 ปกติ 77B2.2 เค้าโครงเว็บ 78B2.3 เค้าโครงเหมือนพิมพ์ 79B2.4 เค้าโครงการอ่าน 80B2.5 เค้าร่าง

(10)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม

81BU

วิธีที่ 2U คลิกเมาส์ที่ปุ่ม ที่มุมซ้ายล่างของจอภาพ

(11)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 82BU รูปแบบของมุมมองต่างๆ 83B มุมมองปกติ (Normal View) 84B เป็นมุมมองปกติที่ใช้งานอยู่เป็นประจ า ซึ่งสามารถกรอกข้อความ เปลี่ยนรูปแบบ ตัวอักษร จัดหน้า ใส่ตัวเลขลงในข้อความได้ แต่ในมุมมองนี้จะไม่แสดงบางอย่างที่ไม่ จ าเป็นต่อการกรอกข้อความ เช่น เลขหน้า ตัวเลขแสดงจ านวนบรรทัด หัวกระดาษหรือ ท้ายกระดาษ ดังนั้น จึงสามารถแสดงข้อมูลบนหน้าจอได้เร็วขึ้น ซึ่งเหมาะกับการท างาน ทั่วๆ ไป มุมมองปกติ

(12)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม

85B

มุมมองเค้าโครงเว็บ (Web Layout View)

86B

ในมุมมองนี้ผู้ใช้งานสามารถอ่านและค้นหาหัวข้อในเอกสารได้ง่าย ซึ่งจะคล้ายกับ มุมมองเค้าโครงเหมือนพิมพ์ แต่มีขนาดฟอนต์ ความยาวหน้ากระดาษที่ใช้แสดงข้อความ จะต่างกันเพื่อให้อ่านง่ายสบายตาขึ้น เหมาะส าหรับการอ่านเอกสารในเว็บ

(13)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม มุมมองเค้าโครงเหมือนพิมพ์

ปกติ

87B

มุมมองเค้าโครงเหมือนพิมพ์(Print Layout View)

88B

เป็นมุมมองที่แสดงผลลัพธ์เหมือนกับเอกสารที่พิมพ์ออกจากเครื่องพิมพ์จริงๆโดย จะแสดงรูปภาพ เลขที่หน้า หรือหัวกระดาษ ระยะเว้นระหว่างข้อความกับขอบกระดาษที่ ผู้ใช้ก าหนดให้เห็น

(14)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม มุมมองเค้าร่าง 89Bมุมมองเค้าร่าง(Outline View) 90B เป็นมุมมองที่แสดงเฉพาะข้อความในเอกสารเท่านั้น โดยแสดงเป็นโครงสร้างของ เอกสารว่าประกอบด้วยหัวข้ออะไรบ้าง และแต่ละหัวข้อมีหัวข้อย่อยลงไปอีกกี่ระดับ มุมมองนี้เหมาะส าหรับใช้จัดล าดับการน าเสนอเนื้อหา ซึ่งมุมมองนี้จะไม่แสดงรูปภาพและ ตารางเลยนอกจากข้อความเท่านั้น

(15)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 91B มุมมองการอ่าน(Reading View) 92B เป็นมุมมอง Microsoft Word ที่ให้ผู้ที่ใช้งานสามารถอ่านข้อมูลภายในเอกสาร คล้ายกับหน้าหนังสือโดยมีการแบ่งออกเป็น 2 หน้า และจัดเอกสารอัตโนมัติและจะท าให้ ฟอนต์มีขนาดใหญ่แต่เมื่อปิดมุมมองนี้ก็จะกลับมาหน้าปกติที่เคยจัดเอาไว้ 12B

2.8 การเรียกดูเอกสารในหน้าอื่นๆ

93Bเมื่อเอกสารมีความยาวจนจอภาพไม่สามารถแสดงข้อความให้เห็นได้ทั้งหมด ให้ ใช้ Scroll bar เลื่อนเอกสารที่แสดงขึ้น/ลงเพื่อดูข้อความส่วนอื่นได้โดยมีวิธีการต่างๆดังนี้ 94BU วิธีที่ 1 95Bโดยคลิกเมาส์ที่ปุ่ม และ เพื่อเลื่อนหน้าเอกสารขึ้นหรือลง 96BU วิธีที่2 97B

กด Page Up และPage down เพื่อเลื่อนเอกสารทีละหน้า

98BU

วิธีที่3

99B

(16)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม

3. ป้อนข้อความลงในเอกสาร

100B Microsoft word เป็นโปรแกรมที่ได้รับความนิยมสูง เป็นการจัดเอกสารได้โดยการ พิมพ์จากแป้นพิมพ์ ซึ่งสามารถแก้ไขหรือจัดรูปแบบที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว 13B

3.1 การสร้างเอกสาร

101B การสร้างเอกสารที่สมบรูณ์ขึ้นมาสักหนึ่งเอกสาร สิ่งที่ประสบในการสร้างเอกสาร นั้นคือการแก้ไข การจัดรูปแบบ ซึ่งแต่ละจุดย่อมมีความแตกต่างกันต้องอาศัยการเลือก ข้อความเฉพาะที่และการแทรกข้อความขึ้นต้องอาศัยการท างานของอุปกรณ์เมาส์และ คีย์บอร์ด 39B 3.1.1 วิธีการเลื่อนจุดแทรกข้อความด้วยเมาส์และคีย์บอร์ด 102B จุดแทรกข้อความ หรือเคอร์เซอร์ ( ) คือ สัญลักษณ์แสดงต าแหน่งแทรกข้อความ ที่พิมพ์ ผู้ใช้งานสามารถเลื่อน ไป ณ ต าแหน่งใดๆ ในเอกสารได้โดยใช้เมาส์ โดยให้ คลิกเมาส์เลือกต าแหน่งที่ต้องการได้เลย นอกจากการใช้เมาส์แล้วผู้ใช้งานยังสามารถเลื่อน โดยใช้คีย์บอร์ด เลื่อนไปยังตัวอักษรถัดไป เลื่อนไปตัวอักษรก่อนหน้านี้ เลื่อนไปยังบรรทัดก่อนหน้านี้ เลื่อนไปยังบรรทัดถัดไป เลื่อนไปยังต้นแถวของแถวนั้น เลื่อนไปยังท้ายแถวของแถวนั้น เลื่อนเอกสารขึ้นหนึ่งหน้า เลื่อนเอกสารลงหนึ่งหน้า

(17)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม ไทย อังกฤษ (สหรัฐ 103B การป้อนข้อมูลลงบนเอกสาร Word จะใช้การพิมพ์จากคีย์บอร์ดเป็นวิธีหลัก ซึ่ง สามารถท าได้ง่าย ทั้งตัวอักษร ตัวเลขและสัญลักษณ์พิเศษ พร้อมทั้งการแก้ไขค าผิดที่ สามารถได้อย่างรวดเร็ว 104B ในการพิมพ์ข้อความในเอกสาร Word ถ้าข้อความที่พิมพ์มีความยาวเกินด้านขวา ของเอกสาร Word ก็ตัดค า และขึ้นบรรทัดใหม่ให้โดยอัตโนมัติ เมื่อต้องการขึ้นย่อหน้าใหม่ ให้ กดคีย์<Enter>และกดคีย์<Tab>เพื่อย่อหน้า

41B 3.1.3 การสลับแป้นพิมพ์ระหว่างภาษาไทยและอังกฤษ 105B โปรแกรม Microsoft Word สามารถสลับแป้นพิมพ์ระหว่างภาษาไทยและอังกฤษ โดยใช้คีย์บอร์ดปุ่ม <~> หรือปุ่ม <Alt+Shift> สังเกตสัญลักษณ์แสดงภาษที่ใช้ทางด้านขวา ล่าง ในกรณีที่ก าลังใช้แป้นพิมพ์ภาษาไทยอยู่ จะแสดงสัญลักษณ์ และถ้า ต้องการใช้แป้นพิมพ์อังกฤษ 3.พิมพ์ข้อความต่อไป 3. กด<Enter>เพื่อขึ้นย่อหน้า ใหม่ 4. พิมพ์ข้อความ 1.กด<Tab เพื่อเคาะย่อหน้า 2.ป้อนข้อความ 1.พิมพ์ข้อความ 2.กดปุ่ม<~>แล้วพิมพ์ภาษาอังกฤษ

(18)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 106Bการท างานกับข้อความในเอกสาร เช่น การคัดลอก การเคลื่อนย้าย หรือการ จัดรูปแบบให้กับข้อความ จ าเป็นต้องระบุข้อความที่ต้องการท างานด้วยก่อน โดยการ เลือกข้อความนั้นๆ จากนั้นจึ้งจะได้ค าสั่ง หรือท างานกับข้อความเหล่านี้ได้ 107B ใช้เมาส์เลือกข้อความ 108B การใช้เมาส์เลือกข้อความคงเป็นวิธีทีท าได้อย่างรวดเร็วที่สุดโดยคลิกเมาส์ที่ ต าแหน่งเริ่มต้นแล้วคลิกซ้ายเมาส์ค้างแล้วลากให้เกิดแถบสีด าทับข้อความ แล้วปล่อย เมาส์เมื่อถึงจุดสิ้นสุดข้อความที่ต้องการ 109B การเลือกต าแหน่งต่างๆโดยใช้เมาส์คลิก 110B เลือกเฉพาะค า 111B กรณีที่ผู้ใช้งานต้องเลือกเฉพาะค าใดค าหนึ่งในข้อความก็ให้ดับเบิ้ลคลิกซ้ายค านั้น แล้ว 112B ข้อความที่เลือกจะมีแถบสีด า 113B เลือกทั้งบรรทัด 114Bเลื่อนเมาส์มาทางด้านซ้ายของข้อความ ตัวชี้เมาส์จะเปลี่ยนเป็นลูกศร และคลิก เมาส์ซ้ายที่บรรทัดนั้น 1 ครั้ง บรรทัดที่ถูกเลือกจะมีแถบสีด าคลุม 115B เลือกทั้งย่อหน้า 116Bเลื่อนเมาส์มาทางด้านซ้ายของข้อความ ตัวชี้เมาส์จะเปลี่ยนเป็นลูกศร และดับเบิ้ล คลิกเมาส์ซ้ายที่ย่อหน้า ย่อหน้าที่ถูกเลือกจะมีแถบสีด าคลุมจะเป็นสีด า หรือใช้วิธีการท ริบเปิ้ลคลิกเมาส์ ย่อหน้าที่ถูกเลือกจะมีแถบสีด าคลุม 2. คลิกเมาส์ซ้ายค้างลากคลุมด าและปล่อย เมาส์ 1.คลิกเมาส์ซ้ายต าแหน่งเริ่มต้น

(19)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 117B เลือกข้อความทั้งหมดในเอกสาร 118Bการเลือกข้อความในเอกสารใช้ค าสั่ง [แก้ไข>เลือกดูทั้งหมด] หรือกดคีย์<Ctrl+A> 119B เลือกข้อความในเอกสารในแนวตั้งและเลือกข้อความในบ้างส่วน 120B ในการเลือกข้อความในเอกสารในแนวตั้งนั้น กดคีย์ <Alt+คลิกเมาส์และลากมาใน แนวตั้ง> กรณีที่ต้องการเลือกข้อความบางส่วนให้กดคีย์<Ctrl+คลิกเมาส์ลากในข้อความที่ ต้องการ 15B

3.3การคัดลอกข้อความ

121Bถ้าต้องการพิมพ์ข้อความซ้ าๆกัน ควรใช้วิธีคัดลอกข้อความไปยังต าแหน่งที่ ต้องการในเอกสารเพื่อลดเวลาในการสร้างเอกสาร ซึ่งวิธีคัดลอกข้อความสามารถใช้ค าสั่ง คัดลอก และ วาง 122B การคัดลอกเอกสารอีกวิธีหนึ่งง่ายๆอีก 2 วิธีการ คือ 123BU วิธีที่ 1 124B 1.ใช้คลิกเมาส์ซ้ายค้างเลือกข้อความ 125B 2.กด <Ctrl> ค้างไว้ และลากเมาส์ค้างจะปรากฏเครื่องหมายบวกข้างลูกศรและไป ที่ต าแหน่งที่ต้องการ 126B 3.เมื่อได้ต าแหน่งที่ต้องการให้ปล่อยเมาส์ 127BU วิธีที่ 2 128B 1.ใช้คลิกเมาส์ซ้ายค้างเลือกข้อความ 129B 2. กดคีย์บอร์ด <Ctrl+C> 130B 3. เลือกต าแหน่งที่ต้องการและกดคีย์บอร์ด <Ctrl+CV> 3.ไปยังต าแหน่งที่ต้องการวางข้อความ 4.คลิกขวาและเลือก วาง 1.ใช้เมาส์เลือกข้อความ 2.คลิกเมาส์ขวาและเลือกค าสั่งคัดลอก

(20)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 131B การพิมพ์ข้อความในเอกสารผิดต าแหน่ง ก็ไม่จ าเป็นต้องลบข้อความและพิมพ์ ใหม่อีกทีหนึ่งให้เสียเวลา แต่สามารถย้ายข้อความไปยังต าแหน่งอื่นในเอกสารได้เลย โดยการใช้ค าสั่ง ตัด และ วาง 132B การย้ายข้อความง่ายๆอีกวิธีหนึ่ง คือ 1. 133Bใช้เมาส์เลือกข้อความและลากเมาส์ไปยังต าแหน่งที่ต้องการย้าย 2. 134Bปล่อยเมาส์ ข้อความที่เลือกจะถูกย้ายมายังต าแหน่งใหม่ 3.ไปยังต าแหน่งที่ต้องการย้ายข้อความ ไป 1.ใช้คลิกเมาส์ซ้ายค้างเลือกข้อความ 2.คลิกเมาส์ขวาเลือกค าสั่ง cut 4.คลิกขวาและเลือก Paste

(21)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 135Bหากสร้างเอกสารที่มีความยาวมากๆและต้องการกลับมาหาค าบางค าในเอกสาร การเลื่อนหน้าเอกสารเพื่อไล่หาค าที่ต้องการ คงต้องใช้เวลาพอสมควร ใน Word มีค าสั่ง ส าหรับค้นหา หรือแทนที่ข้อความในเอกสาร ซึ่งช่วยลดเวลาส าหรับการท างานส่วนนี้ 136B การค้นหาข้อความ 137B เอกสารที่มีความหนาหลายร้อยหน้า การค้นหาค าที่ต้องการบางตัวนั้น สามารถ เลือกใช้ค าสั่ง ค้นหา เพื่อให้โปรแกรม Word ช่วยเราในการค้นหาได้อย่างรวดเร็ว 3.คลิกเมาส์ 1.เลือกค าสั่ง[แก้ไข>ค้นหา]หรือฟังก์ชั่น<Ctrl+F> 2.กรอกค า/ข้อความที่ต้องการค้นหา 4. ค าที่ต้องการค้นหา

(22)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 138B การแทนที่ข้อความในเอกสาร 139Bหากพิมพ์ค าหนึ่งผิดมาทั้งเอกสาร การไล่หาค านั้นๆ และแก้ไขทีละค าคงต้องใช้ เวลานานพอสมควร ใน Word สามารถให้โปรแกรมช่วยค้นหาและแทนที่ค าที่ต้องการได้ อย่างรวดเร็ว 18B

3.6 การสร้างข้อความอัตโนมัติ

140Bหากต้องมีการพิมพ์เอกสารที่ค่อนข้างมากและค าที่ค่อนข้างซ้ ากันมากๆ ท าให้ ต้องเสียเวลาในการพิมพ์ข้อความนั้นซ้ าอยู่เรื่อยๆ ในWord มีตัวช่วยให้สามารถไม่ต้อง พิมพ์เอกสารด้วยค าซ้ าๆอยู่บ่อย ตัวช่วยนั้นคือ ข้อความอัตโนมัติ 4.คลิกเมาส์ แทนที่หรือแทนที่ทั้งหมด 1. ค าสั่ง [ แก้ไข > แทนที่ ] 2.กรอกค าที่ต้องการค้นหา 3. กรอกค าใหม่ที่จะมาแทนที่ 1. [ แทรก > ข้อความอัตโนมัติ > ข้อความอัตโนมัติ ] 2. ใส่ข้อความอัตโนมัติ 3. เพิ่มข้อความอัตโนมัติ

(23)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 141B เมื่อเพิ่มข้อความอัตโนมัติแล้ว ถ้าผู้ใช้งานพิมพ์ข้อความก็จะขึ้นข้อความให้กดEnter ดังนี้ 19B

3.7 การยกเลิกการใช้ค าสั่งครั้งที่ผ่านมา

142Bหากผู้ใช้งานใช้ค าสั่งผิด หรือเผลอลบข้อมูล ให้ใช้ค าสั่ง ท าซ้ า เพื่อยกเลิกค าสั่งที่ ได้กระท าไปครั้งหลังสูดได้ ซึ่งใน Microsoft Word ผู้ใช้งานสามารถย้อนกลับค าสั่งได้ หลายค าสั่ง โดยคลิกที่ลูกศรข้าง (ท าซ้ า) และเลือกย้อนหลับค าสั่งที่ด าเนินมาแล้ว 3.ข้อความที่ถูกลบจะย้อนกลับมาให้ 3.จะขึ้นข้อความให้กด Enter 1. คลิกเมาส์ที่ปุ่ม ท าซ้ า 2.เลือกจ านวนของค าสั่ง ที่ต้องย้อนกลับ

(24)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 143B เมื่อใช้งานโปรแกรม Microsoft Word กระท างานใดๆหรือท าการพิมพ์งาน ในบ้าง ครั้งต้องมีการแทรกข้อคิดเห็นต่างๆเข้าไปในเอกสาร เพื่อแสดงข้อคิดเห็นของผู้ใช้งานเข้า ไปในเอกสารใน Word นั้นมีค าสั่งที่ใช้ในการแทรกข้อคิดเห็นเข้าไปในเอกสารนั้นคือ ค าสั่ง ข้อคิดเห็น 2.แทรก > ข้อคิดเห็น 1.คลิกเมาส์ซ้ายลากคลุมด าข้อความที่ต้องการแสดงความคิดเห็น 3.ใส่ข้อคิดเห็น

(25)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม

4.ฟอนต์และการตกแต่งเอกสาร

144Bหากข้อความที่พิมพ์ลงในเอกสาร Word ถูกป้อนในลักษณะเรียงกันไปเรื่อยๆ คง ท าอ่านยาก เพราะไม่มีการแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนๆ ซึ่งอาจใช้การขึ้นย่อหน้าใหม่ หรือใส่ หัวข้อให้กับเนื้อหา โดยการจัดวางไว้กึ่งกลางหน้ากระดาษ เป็นต้น 21B

4.1 จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลาง ชิดซ้าย หรือชิดขวา

145Bโดยปกติข้อความที่พิมพ์จะถูกจัดชิดซ้ายของเอกสาร หากต้องการเปลี่ยนให้ ข้อความถูกจัดอยู่กึ่งกลาง เช่น การจัดท าหน้าปกรายงาน หรือจัดชิดขวาเอกสาร เช่น การลงท้ายจดหมาย ก็สามารถท าได้โดยการจัดข้อความที่ก าหนดจะมีผลข้อความในย่อ หน้านั้น 146B ปุ่มค าสั่งจัดการรูปแบบจากแถบเครื่องมือมีดังนี้ 147Bจัดข้อความให้ชิดซ้าย จัดข้อความให้อยู่ตรงกลาง 148Bจัดข้อความให้ชิดขวา จัดข้อความให้เต็มบรรทัด 149Bจัดข้อความให้ชิดขอบซ้าย/ขวา ก าหนดระยะห่างระหว่างบรรทัดโดยแยก ช่องไฟระหว่างตัวอักษรเท่าๆกัน 1. คลิกเมาส์ซ้ายเลือกย่อหน้าที่ต้องการจัด ข้อความ

(26)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 150Bการตั้งกั้นหน้าและกั้นหลัง เป็นการก าหนดขอบเขตของข้อความในเอกสาร รวมทั้งการก าหนดระยะในบรรทัดแรกของแต่ละย่อหน้า โดยจะมีผลต่อข้อความในย่อ หน้าที่เลือกทั้งหมดดังตัวอย่างต่อไปนี้ 151B ก าหนดระยะกั้นหน้า 1. 152Bคลิกเมาส์ซ้ายเลือกย่อหน้าที่ต้องการตั้งระยะกั้นหน้า 2. 153Bเลื่อนตัวชี้เมาส์ไปที่ตัวเยื้องซ้าย ซึ่งอยู่ด้านซ้ายของไม้บรรทัด และ คลิกเมาส์ค้างเอาไว้ 3. 154Bคลิกเมาส์ซ้ายแล้วลากเมาส์ค้างเพื่อก าหนดระยะกั้นหน้า เมื่อปล่อย เมาส์จะสังเกตว่าข้อความด้านซ้ายมือจะถูกก าหนดขอบเขตโดยกั้น หน้า 155B ก าหนดระยะกั้นหลัง 1. 156Bเลื่อนตัวลูกศรไปที่ก าหนดให้เยื้องบรรทัดแรก ซึ่งอยู่ด้านขวาของไม้บรรทัด แล้วคลิกเมาส์ซ้ายค้างเอาไว้ 2. 157Bคลิกเมาส์ซ้ายลากค้างเพื่อก าหนดระยะกั้นหลัง เมื่อปล่อยเมาส์จะสังเกตว่า ข้อความด้านขวามือจะถูกก าหนดขอบเขตโดยกั้นหลัง 3.คลิกเมาส์ซ้ายลากค้างปรับกั้นหน้า 2.คลิกเมาส์ซ้ายเลือกกั้นหน้า 1.คลิกซ้ายเลือกย่อหน้าที่ต้องการ 2. คลิกเมาส์ซ้ายและลากค้างปรับกั้นหลัง 1.คลิกเมาส์เลือกกั้นหลัง

(27)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 1. 159Bเลื่อนตัวลูกศรไปที่ตัวก าหนดให้เยื้องบรรทัดแรกซึ่งอยู่ด้านซ้ายของไม้บรรทัด แล้วคลิกเมาส์ซ้ายค้างเอาไว้ 2. 160Bคลิกเมาส์ซ้ายและลากค้างเพื่อก าหนดระยะของบรรทัดแรกสังเกตข้อความใน บรรทัดแรกถูกก าหนดขอบเขตตามที่ก าหนด 161B การกั้นหน้า/หลังจะมีผลเฉพาะกับย่อหน้าที่เลือกเท่านั้น หมายความว่ากรณีที่ 162B ผู้ใช้งานคลิกเมาส์ซ้ายที่ย่อหน้าถัดไปในตัวอย่าง จะเห็นว่าการกั้นหน้ากั้นหลังของย่อ หน้าที่ 2 จะแตกต่างจากที่ก าหนดให้กับย่อหน้าแรก 23B

4.3 การก าหนดต าแหน่งแท็บหยุด

163Bแท็บ (Tab) เป็นการก าหนดย่อหน้าให้กับเนื้อหาในเอกสาร เป็นการเริ่มต้น กล่าวถึงส่วนอื่นๆ ในเอกสารนั้น เพื่อให้ผู้อ่านเอกสารไม่รูสึกว่าเนื้อหาต่อกันยาวเกินไป รวมทั้งเป็นการแบ่งเนื้อหาให้ดูน่าอ่านอีกด้วย 1. 164Bคลิกเมาส์ที่ปุ่ม บริเวณด้านซ้ายไม้บรรทัดจะเป็นสัญลักษณ์แท็บที่ต้องการใช้ โดยแท็บแต่ละแบบที่เลือกใช้ได้มีดังนี้ Left Tab จัดข้อความชิดซ้ายของแท็บ มักจะใช้กับข้อความโดยทั่วๆไป Right Tab จัดข้อความชิดขวาของแท็บ มักจะใช้กับข้อมูลที่เป็นตัวเลข Center Tab จัดข้อความให้อยู่กึ่งกลางของแท็บ Decimal Tab จัดตัวเลขให้จุดทศนิยมอยู่ตรงต าแหน่งของแท็บหยุด 2. แดรกเมาส์เพื่อปรับย่อหน้า 1.คลิกเมาส์เพื่อตั้งระยะของย่อหน้า

(28)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม เราก าหนดจะปรากฏบนไม้บรรทัดและให้ท าซ้ าข้อ 1 และข้อ 2 จนได้แท็บทั้งหมดที่ ต้องการ 24B

4.5 การปรับแต่งการจัดวางข้อความในย่อหน้า

166Bส าหรับเอกสารทั่วไป ผู้ใช้งานจะต้องมีการปรับระยะห่างย่อหน้า ซึ่งจะท าให้ เอกสารนั้นน่าสนใจมากยิ่งขึ้น และมีวิธีการท าดังนี้ Center Tab Right Tab

Left Tab Decimal Tab

1.น าเมาส์ไปในย่อหน้าที่ต้องการ 2.เลือกค าสั่ง[รูปแบบ > ย่อหน้า]

ก าหนดระยะห่างระหว่างย่อหน้า ก าหนดระยะห่างระหว่างบรรทัด ภาพประกอบ

(29)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 25B

4.6 การปรับแต่งฟอนต์ในเอกสาร

168B ฟอนต์ (Font) คือรูปแบบตัวอักษรใน Windows ที่ผู้ใช้งานน ามาใช้ได้ การใช้ ฟอนต์ที่แตกต่างจะท าให้ข้อความในเอกสารดูน่าสนใจ โดยมักพบว่าในเอกสารเดียวกันนั้น มีการใช้ฟอนต์หลายรูปแบบเสมอ ส าหรับแต่ละฟอนต์จะมีชื่อประจ าตัวอยู่เช่น Arial, CordiaUPC, Time New Roman เป็นต้น

3. เลือกรูปแบบฟอนต์ที่ต้องการ 2.คลิกเมาส์เลือกแบบตัวอักษร 1.ใช้เมาส์เลือกข้อความ ผลลัพธ์หลังก าหนด ระยะห่างระหว่าง บรรทัดและย่อหน้า

(30)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 26B

4.7 การก าหนดตัวหนา ตัวเอนและขีดเส้นใต้

169Bนอกจากการตกแต่งเอกสารด้วยฟอนต์ที่แตกต่างกันแล้ว ซึ่งสามารถเน้นข้อความ ในเอกสาร เช่น หัวข้อ ประโยคส าคัญ หรือค าพูดที่ยกมา โดยก าหนดรูปแบบเพิ่มเติม ได้ เช่น Uข้อความขีดเส้นใต้U, ข้อความตัวหน้า,ข้อความตัวเอน เป็นต้น 170B รูปแบบตัวอักษร 171B (Bold) ตัวหนา 172B (Italic) ตัวเอน 173B (Underline) ขีดเส้นใต้ 5. เลือกขนาดฟอนต์ 4.ใช้เมาส์เลือกข้อความ คลิกเมาส์ซ้าย 1. คลิกเมาส์ซ้ายเลือกข้อความ 2. คลิกเมาส์เลือกปรับลักษณะ ข้อความ 3. ผลลัพธ์

(31)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 174B ถ้าพิมพ์ข้อความที่มีการใช้หัวข้อ และล าดับรายการ ก็อาจต้องการให้มีเลขล าดับ หรือเครื่องหมาย(Bullet) หน้าแต่ละหัวข้อ เพื่อจัดให้เป็นประเด็นที่ชัดเจนแยกออกจาก ข้อความส่วนอื่นแทนที่จะต้องพิมพ์เอง ผู้ใช้งานสามารถก าหนดให้ Word เติมเลขล าดับ หรือเครื่องหมายให้โดยอัตโนมัติดังนี้ 1. คลิกเมาส์ซ้ายเลือกข้อความ 2.คลิกเมาส์ซ้ายล าดับเลขหรือสัญลักษณ์ 3. จะได้ตัวเลขล าดับ หรือสัญลักษณ์ Bullet หน้าข้อความ

(32)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 175Bสัญลักษณ์ Bullet หรือเลขล าดับที่แสดงนั้น เป็นลักษณ์มาตรฐานที่โปรแกรม ก าหนดไว้ตั้งแต่แรก ซึ่งความจริงผู้ใช้งานสามารถเลือกเปลี่ยนรูปร่างของสัญลักษณ์ Bullet หรือลักษณะของตัวเลขล าดับได้ 3. เลือกประเภทของสัญลักษณ์ 4.เลือกรูปแบบสัญลักษณ์ที่ต้องการ 5. คลิกเมาส์ 2. เลือก รูปแบบ> สัญลักษณ์แสดงหัวข้อย่อยล าดับเลขหรือ หรือ 1.ใช้เมาส์เลือกข้อความ 6.หน้าตาของสัญลักษณ์หน้าข้อความเปลี่ยนไป

(33)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 29B

4.10 การใช้ตัวแก้สมการ

42B 4.10.1 การเปิดเครื่องมือ Microsoft Equation ขึ้นมาใช้งาน 176B เนื่องจากสมการคณิตศาสตร์มีสัญลักษณ์พิเศษมากมาย ซึ่งผู้ใช้งานไม่สามารถ พิมพ์ได้โดยตรงจากโปรแกรม Microsoft Word ดังนั้นผู้ใช้งานจ าเป็นต้องใช้งานจาก โปรแกรม Microsoft Equation ซึ่งมีหน้าที่ส าหรับเขียนสมการคณิตศาสตร์โดยเฉพาะ ซึ่งมีวิธีการในการเปิดใช้งานโปรแกรม Microsoft Equation ดังนี้

1. เลือกค าสั่ง แทรก > วัตถุ 2. เลือก Microsoft Equation 3.0 3. คลิกเมาส์ซ้าย กล่องเครื่องมือ Equation สร้างสมการในเอกสาร ส่วนส าหรับการแทรกสมการ

(34)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม ลักษณะไอคอน โดยมีวิธีการดังนี้ 178B เมื่อท าการแทรกสูตรเข้ามาในเอกสาร โดยเปิด Microsoft Equation ขึ้นมา จะ 179B ปรากฏกล่องส าหรับป้อนให้ในทันที ซึ่งสามารถเลือกสัญลักษณ์ หรือแม่แบบสูตรจากกล่อง เครื่องมือ Equation เพื่อแทรกลงในเอกสารได้ หรือเข้าที่แถบเครื่องมือ กล่องข้อความส าหรับป้อนและท างาน กับสูตรคณิตศาสตร์ 1. เครื่องมือ > ก าหนดเอง 2. เลือกค าสั่ง > แทรก > ตัวแก้สมการ 3.คลิกเมาส์ซ้ายค้างและลากไปวางต าแหน่งแถบเครื่องมือ 4.เมื่อลากเมาส์มาที่แถบเครื่องมือจะเกิดสัญลักษณ์ จากนั้นก็ปล่อยเมาส์ที่คลิก 5.ปรากฏไอคอน

(35)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 180Bการแทรกสัญลักษณ์พิเศษ หรือสูตรลงในเอกสาร ท าได้โดยคลิกเมาส์ซ้ายที่ปุ่ม เครื่องมือที่ต้องการ จะปรากฏปุ่มเครื่องมือย่อยภายใต้ ให้คลิกเมาส์ซ้ายเลือกสัญลักษณ์ที่ ต้องการ ซึ่งสัญลักษณ์สูตรนั้นๆ จะถูกแทรกลงบนเอกสาร 3.สูตรที่เลือก 4.พิมพ์เลขหรือตัวอักษรลงใน ช่อง 2.คลิกเลือกสูตรที่ต้องการ 1. คลิกเมาส์เลือกกลุ่มของสูตร

(36)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 44B 4.10.3 การแก้ไขสูตร 181B 1.ในมุมมองการท างานกับเอกสารปกตินั้น ไม่สามารถแก้ไขสูตรเหล่านี้ได้ ให้ ดับเบิ้ลคลิกซ้ายบนสูตรที่ต้องการแก้ไข 182B2. โปรแกรมจะเปิดมุมมองการท างานบน Microsoft Equation ขึ้นมา ซึ่งสามารถ แก้ไขหรือเพิ่มเติมบางส่วนของสูตรได้ตามต้องการ 45B 4.10.4 ขยาย/ลดขนาดของสูตร 183Bหากขนาดของสูตรที่วางบนเอกสารไม่เหมาะสม เช่น ตัวอักษรของสูตรใหญ่กว่า อักษรปกติบนเอกสารมาก หรือเล็กเกินไปจนมองไม่เห็นตัวเลขบางตัว เป็นต้น ผู้ใช้งาน สามารถท าการย่อหรือขยายสูตรที่อยู่บนเอกสารได้ทันที เหมือนกับเป็นวัตถุชิ้นหนึ่ง โดย ไม่ต้องเข้าไปยังมุมมองการท างานของ Microsoft Equation ก่อน 1.184Bคลิกเมาส์ที่สูตรบนเอกสาร เพื่อเลือกท างานกับสูตรนั้น 2.185Bจะปรากฏเส้นกรอบสูตรที่เลือก โดยที่มุมจะมีจุดสีด าปรากฏอยู่ให้น าเมาส์ไปวางที่ จุดเหล่านั้น ซึ่งตัวชี้เมาส์จะกลายเป็นสัญลักษณ์ 3.186Bคลิกเมาส์ซ้ายและลากค้างเพื่อย่อ หรือขยายสูตรไปในทิศทางที่ต้องการ เมื่อ ปล่อยเมาส์ซึ่งจะได้ขนาดของสูตรตามที่ก าหนด 46B 4.10.5 การลบสูตร 187Bหากสูตรที่สร้างขึ้นนั้น ไม่จ าเป็นต้องใช้อีกแล้ว ผู้ใช้งานสามารถลบสูตรนั้นออก จากเอกสารได้ทันที โดยคลิกเมาส์เลือกสูตรนั้น และกดปุ่ม <Delete> บนคีย์บอร์ด คลิกเมาส์บริเวณอื่นเพื่อออกจาก Microsoft Equation

(37)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม การสะกดและไวยากรณ์เป็นการตรวจดูเอกสารที่ได้ท าการพิมพ์ไปนั้นผิดไปจาก พจนานุกรมของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือเปล่า วิธีการตรวจตัวสะกดและไวยากรณ์มีดังนี้ 188Bกรณีที่พิมพ์ถูกต้องแล้วแต่ไม่ตรงกับไวยากรณ์หรือไม่ต้องการแก้ข้อมูลที่ผิดไป จากพจนานุกรมเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้กดปุ่มดังนี้ 189Bละไว้ค านั้นค าเดียวเท่านั้น 190Bละทุกค าที่ผิดไปจากพจนานุกรมเครื่องคอมพิวเตอร์ 191Bต้องการเพิ่มค าดังกล่าวในพจนานุกรมเครื่องคอมพิวเตอร์ 2. จะปรากฏหน้าต่างตรวจตัวสะกดและไวยาการณ์ 1. ไปที่เมนูเครื่องมือ >การสะกดและไวยากรณ์ หรือฟังก์ชั่น {F7} หรือ 2. จะปรากฏหน้าต่างตรวจตัวสะกดและไวยาการณ์พร้อมตรวจค าสะกด

(38)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 0 B คือการคัดลอกรูปแบบจากวัตถุหรือข้อความที่เลือกไว้ และน ารูปแบบนั้นไปใช้กับ วัตถุหรือข้อความที่คลิก เมื่อต้องการคัดลอกการจัดรูปแบบไปยังรายการมากกว่าหนึ่ง รายการ ให้คลิกซ้ายสองครั้งที่ จากนั้นคลิกซ้ายเลือกแต่ละรายการที่ผู้ใช้งานต้องการ จัดรูปแบบ เมื่อจัดรูปแบบเรียบร้อยแล้ว ให้กด ESC หรือคลิก อีกครั้งเพื่อปิดการใช้ งาน ตัวคัดวางรูปแบบ 2. คลิกเลือกเครื่องมือตัวคัดวางรูปแบบหรือ บนแถบเครื่องมือ 3.ข้อความที่ต้องการคัดลอก รูปแบบ 1.ลากคลุมข้อความที่เป็นต้นแบบ 4.ข้อความที่คัดลอกรูปแบบมาจากหัวข้อ 1.แนะน ำเอกสำร Microsoft Word 2003

(39)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 192B การแบ่งข้อความในเอกสารเป็นหลายคอลัมน์นั้นจะนิยมท ากันในหนังสือนิตยสาร หรือหนังสือพิมพ์ที่มีการแบ่งข้อความให้เป็น คอลัมพ์เพื่อให้ข้อความที่อ่านนั้นแปลกตา มากยิ่งขึ้น ซึ่งมีวิธีการท าดังนี้ 5.ผลลัพธ์ที่ได้ 1.ลากคลุมด าบนข้อความที่ต้องการท าคอลัมน์หรือ 2. [ รูปแบบ>คอลัมน์] 3.เลือกจ านวนคอลัมน์ 4.ตกลง

(40)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 193B การท าตัวอักษรชนิด Drop Cap คือการน าตัวอักษรหรือข้อความที่น าหน้าประโยค นั้น ๆ ให้เป็นตัวใหญ่ เพื่อเป็นจุดสนใจพิเศษ เหมือนข้อความนี้เรียกว่า Drop Cap มี วิธีการดังนี้ 1.เลือกประเภทของ Drop Cap 2.รูปแบบตัวอักษร 3.เลือกขนาดตัวอักษรกินพื้นที่ 3 บรรทัด 4.ก าหนดระยะห่างตัว Drop Cap กับข้อความ 1. คลุมด าตัวอักษรที่ต้องการท าตัวใหญ่ 2.รูปแบบ> ตัวอักษรขึ้นต้นขนาดใหญ่

(41)

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศประจ าศาลฎีกา นิโรบล นุชอุดม 194B ผลลัพธ์ 33B

4.15 การดูตัวอย่างก่อนพิมพ์เอกสาร

195Bในการพิมพ์เอกสารผู้ใช้งานสามารถตรวจสอบเอกสารก่อนพิมพ์ เพื่อตรวจดูว่า เอกสารที่ออกมามีการจัดวางที่เหมาะสมตามที่ผู้ใช้งานต้องการ เพื่อไม่ให้เกิดการผิดพลาด ของเอกสารที่พิมพ์ออกมาและไม่ต้องสิ้นเปลื้องกระดาษ 4.ตกลงการเลือก Drop Cap 1.ค าสั่งที่ใช้คือ แฟ้ม > ตัวอย่างก่อนพิมพ์ หรือ 2.ปิดหน้าตัวอย่างก่อนพิมพ์ 3.ผลลัพธ์

References

Related documents

Algorithm chooses element with highest value/weight ratio first, the next highest second, and so on until it reaches the capacity of the knapsack. This is the same as a gradient

To restore its func- tion it is necessary to switch the boiler off and on from the electrical mains, using the fused spur isolation switch fitted adjacent to the appliance..

Regarding complaints and suggestions for evaluators, our participants expressed a desire for evaluators to follow child custody evaluation guidelines/model standards; draw

Responsibilities: Clinical: provided CBT and DBT individual, group, family, and milieu mental health and substance abuse treatment to diverse adolescents in a therapeutic

Income shifting can also produce substantial savings if capital gains producing property can be shifted from a fam- ily member in a higher tax bracket to one in a lower bracket..

Word Processing Microsoft Word Microsoft Works Spreadsheets Microsoft Excel Presentations Microsoft PowerPoint Relational Database Microsoft Access Desktop Publishing

Based on the problem above, the researcher would like to conduct the research which aimed to find out whether or not picture series improve students’ reading

While this model is of relevance, I have cre- ated a more appropriate model dbased on an analysis of previous research on patterns of participation in online citizen