การศึกษาผลกระทบทางด้านสังคม-เศรษฐกิจจาก
การตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในประเทศไทย
กมลรัตน์ สังขรัตน์
ความส าคัญของปัญหา
ปี 2545 ประเทศไทยมีอัตราการคลอดบุตร ร้อยละ 49 ต่อสตรี 1,000
ราย
ปี 2550 เพิ่มเป็นร้อยละ 90-100 ต่อสตรี 1,000 ราย
ปี 2551 มีการคลอดของวัยรุ่นวันละ 140 คน หรือชั่วโมงละ 6 คน
ปัจจุบันอันดับ 1 ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผลกระทบจากการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ได้แก่ จิตใจ สังคม และ
เศรษฐกิจ
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาผลกระทบทางด้านสังคม เศรษฐกิจ จากการตั้งครรภ์ของ
วัยรุ่นในประเทศไทย
การศึกษาผลกระทบทางสังคม – เศรษฐกิจ จากการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในประเทศไทย ผลกระทบทางสังคม ผลกระทบต่อตนเองและครอบครัว - ด้านสุขภาพของมารดาวัยรุ่น - ความพร้อมในการเลี ้ยงดูบุตร -ภาระการพึ่งพิง -สัมพันธภาพในครอบครัว ภาระทางสังคม (Social Burden) - การช่วยเหลือจากสังคม - การยอมรับของสังคม การสูญเสียโอกาส - การสูญเสียโอกาสในการศึกษา - การสูญเสียโอกาสในการท างาน ผลกระทบทางเศรษฐกิจ ต้นทุนทางตรง - ค่าใช้จ่ายในการดูแล สุขภาพของมารดา - ค่าใช้จ่ายในการดูแล สุขภาพของทารก ต้นทุนทางอ้อม : ต้นทุน ด้านการศึกษา - การสูญเสียรายได้จาก การเสียโอกาสทางการ ศึกษา
กรอบแนวคิดการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Approach)
ขอบเขตการวิจัย
ประชากร
: กลุ่มแม่วัยรุ่นหลังคลอดอายุ < 20 ปี ในประเทศไทย
กลุ่มตัวอย่าง
: แม่วัยรุ่นในเขตรับผิดชอบศอ. 2,3,4,6,8,9 และ 12
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง :
ค านวณโดยของ Tora, Yamane ได้จ านวน
2,900 ตัวอย่าง
รูปแบบการวิจัย
วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง (ต่อ)
เลือกจังหวัดที่มีอัตราการตั้งครรภ์สูงสุดเขตละ 2 จังหวัด
ค านวณขนาดตัวอย่างตามสัดส่วน
คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างกระจายทุกอ าเภอ โดยให้มีสัดส่วนของเขตเมืองและ
ชนบทใกล้เคียงกัน
ขอบเขตการวิจัย
ขอบเขตเชิงพื้นที่
จังหวัด 2 จังหวัดในเขตรับผิดชอบศอ. 2,3,4,6,8,9 และ 12
ขอบเขตเชิงเนื้อหา
ศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคม
เครื่องมือที่ใช้
แบบสอบถาม
แบบเก็บข้อมูลจากโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลศูนย์ฯ
วิธีการวิจัย
ผู้วิจัยแต่ละศูนย์เขตประสานผู้รับผิดชอบงานในแต่ละจังหวัด
ด าเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบเก็บข้อมูลจาก
โรงพยาบาลชุมชนระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 54 ถึง 30 กันยายน 2555
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล
สรุปผลการศึกษาและจัดท ารายงาน
การวิเคราะห์ข้อมูล
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ต้นทุนทางตรง (ค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพของมารดาและทารก)
เก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลศูนย์
ทุกแห่งในพื้นที่จังหวัดที่ท าการศึกษาจ านวน 14 จังหวัด
ต้นทุนทางอ้อม : ต้นทุนด้านการศึกษา (การสูญเสียรายได้จากการเสีย
โอกาสทางการศึกษา
เก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถาม
การวิเคราะห์ข้อมูล
ศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะสุขภาพระหว่างแม่วัยรุ่นและแม่วัย
ผู้ใหญ่ โดยใช้สถิติไคว์สแควร์
ศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะสุขภาพของทารกที่เกิดจากแม่วัยรุ่น
และแม่วัยผู้ใหญ่โดยใช้สถิติไคว์สแควร์
ค านวณค่าใช้จ่ายด้านเศรษฐศาสตร์จากการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น
ตารางที่ 1 ความสัมพันธ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างแม่วัยรุ่น
กับแม่วัยผู้ใหญ่
ข้อมูลทั่วไป
แม่วัยรุ่น
คน (ร้อยละ)
แม่วัยผู้ใหญ่
คน (ร้อยละ)
Sig.
ชีด
1,676 (19.51)
3,228 (11.77)
<0.001
*ติดเชื้อ HIV
56 (0.65)
250 (0.91)
0.022
*ความดันโลหิตสูง
90 (1.05)
371 (1.35)
0.028
*มีภาวะน ้าเดินก่อน
ก าหนด
184 (2.14)
482 (1.76)
0.021
*คลอดก่อนก าหนด
488 (5.68)
1,060 (3.86)
<0.001
* หมายเหตุ * แม่วัยรุ่นและแม่วัยผู้ใหญ่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะแทรกซ้อนข้อมูลทั่วไป แม่วัยรุ่น คน (ร้อยละ) แม่วัยรุ่น คน (ร้อยละ) Sig รกรอกตัวก่อนก าหนด 127 (1.48) 403 (1.47) 0.951 การคลอด - คลอดทางช่องคลอด 6,248 (72.73) 16,971 (61.87) <0.001* - ผ่าตัดคลอด 1,053 (12.26) 5,415 (19.74) <0.001* - ตกเลิอด 80 (0.93) 267 (0.97) 0.727 - มดลูกแตก 1 (0.01) 4 (0.01) 0.839 หมายเหตุ * แม่วัยรุ่นและแม่วัยผู้ใหญ่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ตารางที่ 1 ความสัมพันธ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างแม่วัยรุ่น
กับแม่วัยผู้ใหญ่
ข้อมูลทั่วไป
แม่วัยรุ่น
คน (ร้อยละ)
แม่วัยรุ่น
คน (ร้อยละ)
Sig.
แผลคลอดติดเชื้อ
18 (0.21)
59 (0.22)
0.923
มดลูกอักเสบ
13 (0.15)
21 (0.08)
0.049
*เต้านมอักเสบ
12 (0.14)
40 (0.15)
0.896
ทางเดินปัสสาวะ
อักเสบ
48 (0.56)
285 (1.04)
<0.001
* หมายเหตุ * แม่วัยรุ่นและแม่วัยผู้ใหญ่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะแทรกซ้อนตารางที่ 1 ความสัมพันธ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างแม่วัยรุ่น
กับแม่วัยผู้ใหญ่
ตารางที่ 2 ความสัมพันธ์ของการเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างทารกที่เกิด
จากแม่วัยรุ่นและแม่วัยผู้ใหญ่
ข้อมูลทั่วไป ทารกที่เกิดจากแม่ วัยรุ่น คน (ร้อยละ) ทารกที่เกิดจากแม่วัย ผู้ใหญ่ คน (ร้อยละ) Sig. จ านวนเด็กแรกเกิด 7,335 (100.00) 23,452 (100.00) น ้าหนักน้อยกว่า 2,500 gm (LBW) Low birth weight 865 (11.79) 1,932 (8.24) <0.001* Apgar’s Score ที่ 1 นาที ≤ 7 Asphyxia 138 (1.88) 382 (1.63) 0.164 เด็กเกิดมีชีพรูปร่างพิการ abnormaly baby 23 (0.31) 52 (0.22) 0.173 หมายเหตุ * ทารกที่เกิดจากแม่วัยรุ่นและแม่วัยผู้ใหญ่มีความสัมพันธ์กับการเกิด ภาวะแทรกซ้อนของทารกข้อมูลทั่วไป ทารกที่เกิดจากแม่ วัยรุ่น จ านวนคน (ร้อยละ) ทารกที่เกิดจากแม่วัย ผู้ใหญ่ จ านวนคน (ร้อยละ) Sig. เด็กเกิดไร้ชีพ Still birth 25 (0.34) 108 (0.46) <0.001* ตัวเหลือง Joundice 801 (10.92) 1,782 (7.60) <0.001* คลอดก่อนก าหนด (คลอดเมื่ออายุครรภ์ น้อยกว่า 37 สัปดาห์) Premature baby 554 (7.55) 1,015 (4.33) <0.001* หมายเหตุ * ทารกที่เกิดจากแม่วัยรุ่นและแม่วัยผู้ใหญ่มีความสัมพันธ์กับการเกิด ภาวะแทรกซ้อนของทารก
ตารางที่ 2 ความสัมพันธ์ของการเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างทารกที่เกิด
จากแม่วัยรุ่นและแม่วัยผู้ใหญ่
ตารางที่ 3 ค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาหญิงตั้งครรภ์จาก
ภาวะแทรกซ้อน
ข้อมูลทั่วไป
ร้อยละแม่
วัยรุ่น
ร้อยละแม่
วัยผู้ใหญ่
% ที่
แตกต่าง
ค่าใช้จ่าย
เฉลี่ย
(บาท)
ค่าใช้จ่าย
ที่เกิดขึ้น
ต่อคน
(บาท)
ชีด
19.51
11.77
7.44
3,059.64 236.82
ติดเชื้อ HIV
0.65
0.91
-0.26
4,977.11 16.38
ความดันโลหิตสูง
1.05
1.35
-0.30
7,690.10 24.69
มีภาวะน ้าเดินก่อน
ก าหนด
2.14
1.76
0.38
7,523.84 28.59
คลอดก่อนก าหนด
5.68
3.86
1.82
2,937.68 53.47
ตารางที่ 3 ค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาหญิงตั้งครรภ์จาก
ภาวะแทรกซ้อน
ข้อมูลทั่วไป
ร้อยละแม่
วัยรุ่น
ร้อยละแม่
วัยผู้ใหญ่
% ที่
แตกต่าง
ค่าใช้จ่าย
เฉลี่ย
(บาท)
ค่าใช้จ่าย
ที่เกิดขึ้น
ต่อคน
(บาท)
ผ่าตัดคลอด
12.26
19.74
7.48 11,172.07 835.16
มดลูกอักเสบ
0.65
0.91
0.07
4,482.33
3.14
ตารางที่ 4 ค่าใช้จ่ายในการดูแลทารกที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อน
ข้อมูลทั่วไป
ทารกที่เกิด
จากม่วัยรุ่น
(ร้อยละ)
ทารกที่
เกิดจาก
แม่วัย
ผู้ใหญ่
(ร้อยละ)
% ที่
แตกต่าง
ค่าใช้จ่าย
เฉลี่ย
(บาท)
ค่าใช้จ่าย
ที่เกิดขึ้น
ต่อคน
(บาท)
น ้าหนักน้อยกว่า
2,500 gm (LBW)
11.79
8.24
3.55 38,780.25 1,376.70
เด็กเกิดไร้ชีพ
0.34
0.46
0.12
5,611.60
6.73
ตัวเหลือง
10.92
7.60
3.32
คลอดก่อนก าหนด
7.55
4.33
3.22 38,780.25 1,248.72
สรุปและข้อเสนอแนะ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีแผนงานหรือโครงการเพื่อป้องการ
ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ส่งเสริมค่านิยมที่ถูกต้องแก่เยาวชนและสาธารณะและมี
เพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย